01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

10<br />

3.2 การเกิดสารอนุมูลอิสระ (Free radicals)<br />

Shewfelt and del Rosario (2000) นําเสนอสมมติฐานการเกิด CI โดยมีอนุมูลอิสระ<br />

เปนตัวกลางที่สําคัญไดแก suproxide (O . 2 ) hydroxyl radical ( . OH ) และ hydrogen peroxide<br />

(H 2 O 2 ) อนุมูลอิสระเหลานี้จะถูกสรางมากขึ้นในสวนของไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต เมื่อ<br />

พืชไดรับความเครียดตาง ๆ รวมทั้งความเครียดเนื่องจากอุณหภูมิต่ํา อนุมูลอิสระที่สรางขึ้นมาก ทํา<br />

ใหเกิดความเสียหายใหกับโมเลกุลของไขมัน โปรตีน DNA รวมทั้งเยื่อหุม โดยการเกิดปฏิกิริยากับ<br />

กรดไขมันไมอิ่มตัว (polyunsaturated fatty acid) ซึ่งเปนสวนประกอบของเยื่อหุมเซลล โดย<br />

เกิดปฏิกิริยา lipid oxidation และชักนําใหเกิดการสะสมสารที่เปนพิษตอเซลลพืช เชน เอทานอล<br />

อะเซทัลดีไฮล ทําใหเยื่อหุมเสื่อมสภาพในเวลาตอมา นอกจากนั้นการที่อนุมูลอิสระเขาทําลาย<br />

โปรตีนมีผลตอการลดประสิทธิภาพการทํางานของเอนไซมที่ติดอยูกับเยื่อหุมตาง ๆ (membranebound<br />

enzymes) ทําใหเกิดความไมสมดุลของกระบวนการเมแทบอลิซึม ทําใหเซลลตายในที่สุด<br />

แตตัวพืชเองก็มีกลไกควบคุมไมใหมีการผลิตอนุมูลอิสระมากจนเกินไป เรียกวา ระบบตานอนุมูล<br />

อิสระ (antioxidant systems) ซึ่งมีทั้งที่เปนสารตานอนุมูลอิสระและจัดเปนเอนไซม มีบทบาทใน<br />

การควบคุมปริมาณอนุมูลอิสระใหอยูในระดับที่ไมเปนอันตรายตอเซลลพืช โดยแยงจับอิเล็คตรอน<br />

อิสระ เพื่อทําใหอนุมูลอิสระหมดคุณสมบัติในการเปนตัวออกซิไดซ การศึกษาที่สนับสนุน<br />

สมมติฐานนี้ ไดแก การศึกษาในตนกลาของแตงกวา ถั่วเขียว ถั่วเหลืองและขาวที่มีความไวตอ<br />

อุณหภูมิต่ํา เมื่อนําไปไวที่อุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิที่ทําใหเกิด CI ชวงระยะเวลาหนึ่ง กอนนําไปไว<br />

ที่อุณหภูมิที่ทําใหเกิด CI (precondition) ทําใหมีความทนทานตออาการ CI มากกวาตนที่ไมไดทํา<br />

precondition ซึ่งสาเหตุที่พืชมีความทนทานมากขึ้นเนื่องจากเอนไซมในระบบตานอนุมูลอิสระบาง<br />

ชนิด เชน catalase (CAT) superoxide dismutase (SOD) มีกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น หรือมีการสรางตัว<br />

ตานอนุมูลอิสระที่ไมเปนเอนไซมบางชนิดเพิ่มขึ้น (MacRae and Ferguson, 1985; Prasad et al.,<br />

1994; Kuk et al., 2003; Posmyk et al., 2005) แตจากการศึกษาปริมาณตัวตานออกซิเดชันในรูป<br />

ของ total antioxidant capacity (TAC) ในเปลือกและเนื้อติด endocarp ของผลมะมวงกอนการเกิด<br />

อาการสะทานหนาว พบวาไมมีความสัมพันธกับสายพันธุมะมวงที่มีระดับความทนทานตออาการ<br />

สะทานหนาวตางกัน (สุทิน, 2547)<br />

การศึกษาการใหความรอนในผลิตผลหลายชนิด เชน สม องุน มีผลในการชะลอการ<br />

ลดลงของเอนไซมในระบบตานอนุมูลอิสระ CAT และ SOD ทําใหผลผลิตตานทานตอการเกิด CI<br />

เพิ่มขึ้น (Sala and Lafuente, 2000; Zhang et al., 2005) นอกจากนั้นพืชยังมีกลไกการกําจัดอนุมูล

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!