01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

(Conditioning) การใหความรอน หรือการใชสภาพดัดแปลงบรรยากาศ และการใชวิธีทางเคมี<br />

สารเคมีสามารถลดอาการสะทานหนาวในพืชผักและไมผล ไดแก 1-methylcyclopropene (1-MCP)<br />

salicylic acid (SA) jasmonic acid (JA) methyl salicylate (MeSA) และ methyl jasmonate (MeJA)<br />

6.1 การใชสาร 1-MCP<br />

1-MCP เปนสารยับยั้งการทํางานของเอทิลีน โดยการจับกับสวน receptors ของเอทิลีน<br />

และปองกันการตอบสนองของพืชตอเอทิลีน (Sisler and Serek, 2003) การใชสาร 1-MCP มีผลใน<br />

การยืดอายุการเก็บรักษาและลดความรุนแรงของการเกิดอาการสะทานหนาวในผักใบ ไดแก ผักชี<br />

พาสเลย และผักในเขตเอเชียหลายชนิด โดยไปลดกระบวนการเสื่อมสภาพของใบพืช ไดแก ลด<br />

อัตราการสลายตัวของคลอโรฟลล ลดการสลายตัวของโปรตีนหรือการสะสมของ amino acids<br />

(Jiang et al., 2002; Able et al., 2003; Ella et al., 2003) พืชและผลผลิตแตละชนิดมีการตอบสนอง<br />

ตอ1-MCP และการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี ที่เกี่ยวของกับความผิดปกติเนื่องจากการเก็บรักษาใน<br />

อุณหภูมิต่ําในลักษณะที่แตกตางกัน การให 1-MCP กับผลแอปเปล อะโวคาโด และสับปะรด ชวย<br />

ลดความผิดปกติจากอาการสะทานหนาว เชน superficial scald หรือการเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลในสวน<br />

ของเนื้อผล แตการให 1-MCP กับผลทอ บวยและผลสม ทําใหเกิดความผิดปกติเพิ่มขึ้นเนื่องจาก<br />

ผลไมเหลานี้ตองการเอทิลีนในการเรงกระบวนการสุก แตสําหรับความผิดปกติเนื่องจากการชักนํา<br />

ของเอทิลีน เชน การเกิดสีน้ําตาลในสวนที่มีการตัดแตงของผักสลัด การเกิดอาการฉ่ําน้ําในผล<br />

แตงโม หรือการสะสมสาร isocumarin ในหัวแครอท สามารถลดความผิดปกติโดยการให 1-MCP<br />

กอนเก็บรักษาหรือกอนการตัดแตง (Waltkins, 2006) ดังนั้นการใช 1-MCP จึงจําเปนตองเขาใจ<br />

บทบาทและเมแทบอลิซึมของเอทิลีนในผลิตผลนั้น ๆ กอน จึงจะสามารถใชสารชนิดนี ้ไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

6.2 การใชสาร SA JA MeSA และ MeJA<br />

สาร SA และอนุพันธของ SA เปนโมเลกุลสัญญาณที่พืชสรางขึ้น หลังจากพืชตอ<br />

ความเครียดจากสิ่งแวดลอม การเขาทําลายของโรคหรือแมลง กระตุนใหพืชมีการตอบสนองโดย<br />

การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีตางๆ ในการปองกันตัวเอง (Klessig and Malamy, 1994) การใชสาร<br />

MeJA ในการลดการเกิด CI มีรายงานครั้งแรกในป 1994 โดยทําการศึกษาในผลแตงซูกินี ซึ่งสาเหตุ<br />

การลด CI ในพืชชนิดนี้ เกี่ยวของกับการเพิ่มขึ้นของปริมาณ ABA และ polyamine (Wang and<br />

Buta, 1994) แตการศึกษาในผลฝรั่งรายงานวา ความตานทานของ CI มีความสัมพันธกับการ<br />

18

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!