01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

81<br />

วิจารณ<br />

1. ปจจัยที่มีผลตอการพัฒนาอาการสะทานหนาวของพืชสกุลกะเพรา<br />

สายพันธุและชนิดของเนื้อเยื่อพืชเปนปจจัยเบื้องตน ที่ทําใหพืชมีการตอบสนองตอ<br />

อุณหภูมิต่ําแตกตางกัน (Yang et al., 2001; Phakawatmongkol, 2004; Phomyou et al., 2005;<br />

Boonsiri et al., 2007) ในพืชสกุลกะเพรามีความแตกตางกันอยางชัดเจนในระหวางสายพันธุโดย<br />

ใบแมงลักมีความไวตออุณหภูมิต่ํามากที่สุด รองลงมาไดแกใบกะเพรา และใบโหระพามีความไวตอ<br />

อุณหภูมิต่ํานอยที่สุด ความรุนแรงของการเกิด CI มีผลตอการสูญเสียคุณภาพทางกลิ่นหรือเกิดกลิ่น<br />

ผิดปกติ โดยพบวาใบแมงลักมีกลิ่นลดลง และเกิดกลิ่นผิดปกติ หลังการเก็บรักษาที่ 4 o ซ นาน 48<br />

ชั่วโมง ขณะที่ใบโหระพาที่มีความไวตอ CI นอยกวามีกลิ่นของใบคงที่ (ภาพที่ 3)<br />

สารฟนอลิกเปนสารตั้งตนของการเกิดปฏิกิริยาในการเกิดสีน้ําตาลโดยเอนไซม PPO และ<br />

PAL และมีบทบาทเกี่ยวของกับความไวตอการเกิด CI ในผลไมและพืชผักหลายชนิด (Amiot<br />

et al., 1997) ในใบพืชสกุลกะเพราสายพันธุตาง ๆ มีปริมาณสารประกอบฟนอลิก และมีคุณสมบัติ<br />

ของการตานอนุมูลอิสระที่แตกตางกัน (Juiani and Simon, 2002) ซึ่งอาจมีผลตอการเปลี่ยนเปนสี<br />

น้ําตาลหลังการเก็บรักษาใบพืชสกุลกะเพราที่อุณหภูมิต่ํา จากผลการทดลองพบวาโหระพาใบแกมี<br />

ความไวตออุณหภูมิต่ํานอยกวา แตมีปริมาณสารประกอบฟนอลิกทั้งหมดสูงกวาใบแมงลักที่มีคา<br />

ดัชนีอาการสะทานหนาวที่มากกวา แสดงวาปริมาณสารประกอบฟนอลิกทั้งหมดไมใชเปนตัวปจจัย<br />

ที่กําหนดการเกิด CI ของพืชกลุมนี้ (ภาพที่ 13C) องคประกอบทางเคมีหรือปริมาณ essential oil<br />

เปนคุณสมบัติที่สําคัญของพืชสกุลกะเพรามีปริมาณแตกตางกันระหวางสายพันธุ และแหลงปลูก<br />

พืชสกุลกะเพราโดยสวนใหญมีปริมาณ essential oil ในใบสดประมาณ 0.5-1.4% แตในใบยี่หรา<br />

หรือโหระพาชาง (O. gratissimum) ซึ่งอยูในพืชสกุลกะเพรา มี essential oil สูงถึง 3.2-4.1% และ<br />

ไขมันที่พบเปนไขมันไมอิ่มตัวที่โครงสรางเปนโซยาว (Hiltuneh and Holm, 1999) ซึ่งผลการ<br />

ทดลองเบื้องตน (ไมแสดงขอมูล) พบวาใบยี่หรามีความทนตออุณหภูมิต่ํามากกวาใบพืชสกุล<br />

กะเพราชนิดอื่น แตเนื่องจากไมมีการปลูกโหระพาชางเปนการคา และพืชนี้มีการเจริญเติบโตชา<br />

ตองปลอยใหเจริญเติบโตขามป จึงไมไดเลือกพืชชนิดนี้ในการทดลอง ดังนั้นอาจเปนไปไดวาใน<br />

โหระพาใบสดอาจมี essential oil และไขมันไมอิ่มตัวมากกวาใบแมงลัก จึงทําใหใบโหระพามีความ<br />

ทนตออุณหภูมิต่ํามากกวาใบแมงลัก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!