01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

7<br />

3. สาเหตุการเกิดอาการสะทานหนาว<br />

การศึกษาเกี่ยวกับการเกิดอาการสะทานหนาว มีการบันทึกครั้งแรกในป คศ. 1778<br />

Bietkander พบวามีพืชหลายชนิดตายเมื่อมีการนําไปไวที่อุณหภูมิ 1-2 o ซ ซึ่งเปนอุณหภูมิเหนือจุด<br />

เยือกแข็งและตอมาไดมีนักวิทยาศาสตรศึกษาพบลักษณะเชนเดียวกันในพืชอีกหลายชนิด รวมทั้ง<br />

พืชในเขตรอน ตอมา Molisch ไดใหคําจํากัดความของคําวา chilling injury (CI) (Erkälturn) เปนคน<br />

แรก(Levitt, 1980) ในอดีตจนถึงปจจุบัน มีแนวคิดวา การเกิด CI ในเซลลพืชมีสาเหตุเริ่มตนมาจาก<br />

สาเหตุหรือเหตุการณเดียว โดยพิจารณาจากเกิดเหตุการณแรก (primary event) เมื่อเซลลพืชไดรับ<br />

อุณหภูมิวิกฤต (critical temperature) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นสามารถเกิดยอนกลับได (reversible)<br />

ถานําพืชกลับสูสภาพเดิมหรือออกจากอุณหภูมิดังกลาว กอนเกิดเหตุการณหลัง (secondary event)<br />

ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีอยางมาก และไมสามารถกลับสูสภาพเดิม และนําไปสูการ<br />

เสื่อมสภาพหรือการตายของเซลล (Raison and Orr, 1990) การพิสูจนหาสาเหตุเบื้องตนเพื่ออธิบาย<br />

อาการสะทานหนาวซึ่งเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นในตอนหลัง บางกรณีอาจไมสอดคลองกัน เนื่องจาก<br />

ถาสาเหตุเริ่มตนมีความแตกตางกัน แตถากลไกทางชีวเคมีที่เกิดขึ้นในตอนหลัง เชน การเกิดสี<br />

น้ําตาลที่เกี่ยวของกับเอนไซมไมมีความแตกตางกัน อาจทําใหการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพเมื่อ<br />

อุณหภูมิลดต่ําลงเกิดความเสียหายใกลเคียงกัน ดังนั้นการศึกษาเรื่องการเกิดอาการสะทานหนาวจึง<br />

ตองวัดสิ่งที่เกิดขึ้นในเหตุการณแรกเริ่มเมื่ออุณหภูมิลดต่ําลงจนถึงเหตุการณสุดทาย เมื่ออาการ<br />

สะทานหนาวปรากฏขึ้น (จริงแท, 2549)<br />

ทฤษฏีที่อธิบายสาเหตุการเกิด CI มีหลายแนวทางไดแก การหยุดไหลหรือการเปลี่ยนแปลง<br />

โครงสรางไซโตพลาสซึม การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของเอนไซมหลักที่ควบคุมกระบวนการตาง ๆ<br />

การเปลี่ยนแปลงสถานะ (phase transition) ของกรดไขมันในเยื่อหุมเซลล การเกิดสารอนุมูลอิสระ<br />

และ การเพิ่มขึ้นของไอออนในไซโตพลาสซึม สําหรับสองทฤษฏีแรกยังไมมีขอมูลสนับสนุน<br />

เพิ่มเติมวาเกี่ยวของกับการเกิด CI แตสามทฤษฏีหลังนี้มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด และมี<br />

การศึกษาที่สนับสนุนวามีความเกี่ยวของกับการเกิดหรือความไวตอการเกิด CI ในทางตรงหรือ<br />

ทางออม<br />

3.1 การเปลี่ยนแปลงสถานะของกรดไขมันในเยื่อหุมเซลล<br />

ทฤษฎีนี้นําเสนอโดย Lyons ในป 1973 เปนทฤษฎีที่ไดรับความสนใจและมีการศึกษา<br />

จํานวนมากที่สนับสนุนวาการเปลี่ยนแปลงสถานะหรือองคประกอบของไขมันในเยื่อหุมเซลลมีผล

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!