01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ความสัมพันธระหวางความเสียหายของเยื่อหุมเซลลและการเกิดอาการสะทานหนาว<br />

ของใบพืชสกุลกะเพรา<br />

The Relationship between Membrane Damage and Chilling Injury<br />

in Basil Leaves (Ocimum spp. )<br />

คํานํา<br />

กะเพรา เปนพืชสกุลเดียวกันกับโหระพาและแมงลัก จัดอยูใน สกุล Ocimum วงศมินท<br />

(Labiatae) เปนวงศพืชสมุนไพรที่ใชเปนเครื่องปรุงรส (culinary herb) ที่ใชบริโภคสดแพรหลาย<br />

ที่สุดในประเทศไทย โดยมีแหลงผลิตพืช เพื่อขายใบสดที่สําคัญคือ จังหวัดนครปฐมและ กระจาย<br />

ทั่วทุกภาคของประเทศไทยประมาณ 1,009 ไร สวนในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจัดเปนประเทศที่<br />

มีการบริโภคและนําเขาสมุนไพรแหลงใหญที่สุดของโลก โดยนิยมบริโภคพืชสมุนไพรวงศ<br />

Labiatae มากที่สุด และมีการนําเขาสมุนไพรและผักสมุนไพรปรุงรสสด เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในป<br />

1980 สหรัฐอเมริกามีการนําเขาเครื่องเทศและพืชสมุนไพรประมาณ 2.1 พันลานปอนด และในป<br />

2000 มีการนําเขาเพิ่มขึ้นเปน 3.6 พันลานปอนด เนื่องจากการขยายตัวของประชากรชาวตางชาติ<br />

และวัฒนธรรมการบริโภคอาหารสุขภาพ โดยมีประเทศผูสงออกผักสมุนไพรปรุงรสที่สําคัญ ไดแก<br />

อินโดนีเซีย อินเดีย แคนาดาและจีน (กรมวิชาการเกษตร, 2550; Buzzanell et al., 1995; ASTA,<br />

2001)<br />

ปญหาที่สําคัญในการสงออกและการวางขาย ผักสมุนไพรปรุงรส คือ ผลผลิตเนาเสียงาย<br />

และมีอายุการเก็บรักษาสั้น (Cantwel and Reid, 2002) โดยเฉพาะพืชสกุลกะเพรา มีความไวตอการ<br />

เกิดความเสียหายจากอาการสะทานหนาว (Chilling injury) มากกวาผักสมุนไพรปรุงรสชนิดอื่น ๆ<br />

โดยเนื้อเยื่อของใบและลําตน เปลี่ยนเปนสีดําภายหลังจากเก็บรักษาในอุณหภูมิ 5-10 องศาเซลเซียส<br />

(Aharoni et al., 1993) จากการศึกษาเบื้องตนในพืชสกุลกะเพราที่มีการปลูกเปนการคาในประเทศ<br />

ไทยจํานวน 3 ชนิด (species) คือ กะเพรา โหระพา และแมงลัก พบวาใบแมงลักมีความความไวตอ<br />

การเกิดอาการสะทานหนาวมากที่สุด และโหระพามีความไวตออุณหภูมิต่ํานอยที่สุด โดยใบออนมี<br />

ความไวตออุณหภูมิต่ํานอยกวาใบแกอยางชัดเจน การศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางทาง<br />

สรีรวิทยา องคประกอบทางเคมีและการเปลี่ยนแปลงชีวเคมีบางอยางระหวางไดรับความเครียดจาก<br />

อุณหภูมิต่ําอาจสามารถอธิบายกลไกหรือสาเหตุการเกิดอาการสะทานหนาวของพืชสกุลนี้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!