01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

70<br />

การทดลองที่ 4 การใชความรอนและสารเคมีบางชนิดเพื่อลดอาการสะทานหนาวของใบพืชสกุล<br />

กะเพรา<br />

แบงออกเปน 4 การทดลองยอย ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อหาวิธีการลดอาการสะทานหนาวของ<br />

พืชทดลองและอธิบายความสัมพันธบางอยางที่เกี่ยวของกับอาการสะทานหนาวที่ปรากฏ<br />

4.1 การใชสาร 1-methylcyclopropene (1-MCP)<br />

ผลการทดลองพบวาการรมสาร1-MCP เขมขน 100 nL L -1 ชะลอการเกิดอาการ<br />

สะทานหนาวในใบแกของแมงลัก นาน 24 ชั่วโมง แตหลังจากการเก็บรักษาที่ 4 o ซ นาน 36 ชั่วโมง<br />

กลับมีคาดัชนีอาการสะทานหนาวมากกวาชุดควบคุม แตการใหสาร1-MCP ที่เขมขนสูงกวา (500<br />

nL L -1 ) กลับไมสามารถชะลออาการสะทานหนาว เมื่อเปรียบเทียบคาการรั่วไหลของประจุ พบวา<br />

หลังจากการเก็บรักษาใบที่ 4 o ซ นาน 24-36 ชั่วโมง ใบแกที่ไดรับ 1-MCP เขมขน 500 nL L -1 มีคา<br />

การรั่วไหลของประจุสูงกวาชุดควบคุมแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ภาพที่ 18)<br />

4.2 การใชสาร salicylic acid (SA)<br />

การทดลองเบื้องตนโดยจุมใบแมงลักทั้งกานลงในสารละลาย SA ที่ความเขมขน<br />

แตกตางกันนาน 10 นาทีกอนเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา พบวาที่ระดับความเขมขน 0.5 และ 0.25 mM<br />

สามารถชะลอการพัฒนาอาการสะทานหนาวในใบแมงลักได (ไมแสดงขอมูล) ทําการทดสอบซ้ํา<br />

โดยการจุมกานใบแกในสารละลาย SA ความเขมขน 0.5 และ 0.25 mM นาน 5 และ 10 นาที พบวา<br />

การจุมสารนาน 10 นาที ชะลอการพัฒนาของอาการสะทานหนาวไดนาน 24 ชั่วโมง เมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับชุดควบคุมที่จุมกานใบในน้ํากลั่น การเปรียบเทียบคาการรั่วไหล ของประจุพบวาใบ<br />

แมงลักที่ไดรับสาร SA มีการเพิ่มขึ้นของคาการรั่วไหลของประจุชากวาชุดควบคุม แตกตางอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (ภาพที่ 19) และสอดคลองกับการชะลอการปรากฏอาการสะทานหนาว (ภาพที่<br />

20)<br />

4.3 การใชสภาพดัดแปลงบรรยากาศ (modified atmosphere packaging)<br />

การทดลองเบื้องตนทดลองบรรจุใบแมงลักในถุงพลาสติก 3 ชนิดคือ polypropylene<br />

(PP), polyethylene (PE) และ high density polyethylene (HDPE) บรรจุในสภาพปดและเจาะรูที่ถุง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!