01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จากผลการทดลองพบวาองคประกอบทางเคมีหรือคุณสมบัติทางชีวเคมีของเนื้อเยื่อพืชที่<br />

แตกตางกัน เปนปจจัยที่สําคัญที่มีผลตอการพัฒนาอาการสะทานหนาวของใบพืชสกุลกะเพรา แต<br />

ปจจัยดานลักษณะทางกายวิภาคของพืชอาจเปนปจจัยรวมจึงควรมีการพิจาณาดวย จากผลการ<br />

ศึกษาลักษณะกายวิภาคใบพืชสกุลกะเพรา โดยการตรึงเนื้อเยื่อใน paraffin และตัดขวางเนื้อเยื่อใบ<br />

ดวยเครื่อง rotary microtome แลวศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนแบบธรรมดา (light microscope)<br />

พบวาแมงลักใบแกมีหนาแนนของเซลลในชั้น palisade parenchyma นอยกวาสายพันธุอื่นเล็กนอย<br />

(ไมแสดงผล) โดยเซลลในชั้นนี้มีการเปลี่ยนแปลงตอเมื่อปรากฏอาการสะทานหนาวในขั้นรุนแรง<br />

แลว แตพบวาเนื้อเยื่อพืชบริเวณเซลลในชั้น spongy parenchyma ซึ่งอยูติดกับสวน lower epidermis<br />

เกิดการยุบตัวขึ้นกอนชั้น palisade parenchyma ที่อยูติดกับสวน upper epidermis สอดคลองกับ<br />

อาการ CI ที่ปรากฏครั้งแรกที่บริเวณทองใบหลังเก็บรักษาที่ 4 o ซ เปนเวลานาน 4-6 ชั่วโมง (ภาพที่<br />

16B) แสดงวาเซลล palisade parenchyma อาจมีความแข็งแรงมากกวา เนื่องจากเซลลมีลักษณะเปน<br />

ทรงกระบอกเรียงตัวเปนระเบียบเบียดชิดกันและมีชองวางระหวางเซลลนอย ในขณะที่เซลลชั้น<br />

spongy parenchyma มีลักษณะเปนทรงกลม อยูหางกันและมีชองวางระหวางเซลลมากกวาเซลลชั้น<br />

palisade (ภาพที่ 15A) อยางไรก็ตามการศึกษาโดยใชกลองจุลทรรศนแบบธรรมดาไมสามารถระบุ<br />

เซลลหรือออรแกเนลล ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในชวงเริ่มตนของ CI ไดอยางเดนชัด แตการศึกษา<br />

ดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนสามารถแยกความแตกตางระหวางเซลลหรือการเปลี่ยนแปลงของ<br />

เซลล เนื่องจากผลของอุณหภูมิต่ําไดอยางชัดเจน (Kratsch and Wise, 2000; Boonsiri et al., 2007;<br />

Concellón et al., 2007) ซึ่งควรจะมีการศึกษาเพิ่มเติมในสวนนี้<br />

ความแกทางสรีรวิทยาเปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลตอการทนหนาวหรือพัฒนา CI ใน<br />

การศึกษาพืชผักและผลไมหลายชนิด ไดแก ผักบุง พริก พุทรา มะมวง และสม พบวาผลออนหรือ<br />

เนื้อเยื่อที่มีอายุนอยมีความไวตออุณหภูมิต่ํามากกวาผลแกหรือเนื้อเยื่อที่มีอายุมาก (ดุษฏี, 2541; Ose<br />

et al., 1995; Mohammed and Brecht, 2002; Lafuente et al., 2003; Boonsiri et al., 2007) แตใน<br />

ผลิตผลบางชนิด เชน ผลพลัม สับปะรด ใบเขียวหมื่นป (agronema) มีลักษณะที่ตรงกันขามกลาวคือ<br />

ในผลแกหรือใบแกมีความไวตออุณหภูมิต่ํามากกวา (Abdi et al., 1997; Zhou et al., 2003; Chen et<br />

al., 2007) เชนเดียวกับใบแกของสกุลกะเพรามีความไวตออุณหภูมิต่ํามากกวาใบออน (ภาพที่ 5)<br />

สาเหตุที่ใบแกมีไวตออุณหภูมิต่ํามากกวาใบออน อาจเกี่ยวของกับปริมาณการสะสมของกรดไขมัน<br />

ไมอิ่มตัว จากผลการทดลองพบวาในใบแกมีปริมาณกรดไขมันไมอิ่มตัวคงที่หลังการเก็บรักษาที่ 4 o<br />

ซ นาน 12 และ 24 ชั่วโมง ในขณะที่ใบออนมีปริมาณกรดไขมันไมอิ่มตัวรวมเพิ่มขึ้นถึงระดับสูงสุด<br />

และมีอัตราสวนระหวางกรดไขมันไมอิ่มตัวและกรดไขมันอิ่มตัวเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

หลังการเก็บรักษาที่ 4 o ซ นาน 12 ชั่วโมง (ตารางที่ 2 และภาพที่ 15A) สอดคลองกับการศึกษาในใบ<br />

82

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!