01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การปรับตัวในสภาพอุณหภูมิต่ํา และลดความเสียหายจากอาการ CI หลังไดรับอุณหภูมิสูง โดยการ<br />

สังเคราะห heat shock protein (HSP) เพิ่มขึ้น ลดคาการรั่วไหลของประจุจากเนื้อเยื่อผลมะเขือเทศ<br />

หรือการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของไขมันในเยื่อหุมเซลล (Lurie, 1998) ในการทดลองครั้งนี้<br />

พบวาการใหความรอนกับใบแมงลักที่ 38 o ซ เปนเวลานาน 15 นาที ชะลอการพัฒนาอาการ CI ใน<br />

แมงลักใบแก ภายหลังจากการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 o ซ ไดนานมากกวา 24 ชั่วโมง (ภาพที่ 22) แต<br />

การใหความรอน เปนเวลานาน 30 นาทีหรือ 1 ชั่วโมงทําให เกิดความเสียหายจากความรอน (heat<br />

injury) และมีอาการ CI รุนแรงขึ้น (ไมแสดงขอมูล) แตจากการศึกษาในโหระพา ที่ใหอุณหภูมิสูง<br />

เทากันกับการทดลองนี้ เวลาที่ใหความรอนนานมากกวา 6 ชั่วโมง สามารถยับยั้งการแสดงอาการ<br />

CI ไดตลอดการทดลอง โดยไมเกิดความเสียหายจากความรอน (Aharoni, et al., 2004) ผลของการ<br />

ใชความรอนในใบแมงลัก นาจะเกี่ยวของกับการลดความเสียหายของเยื่อหุมเซลล จึงพบวาหลังจาก<br />

เก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ําเพียง 12 ชั่วโมง สามารถชะลอการเพิ่มขึ้นของคาการรั่วไหลของประจุจาก<br />

เนื้อเยื่อใบ สอดคลองกับการใหความรอนระยะสั้น กับผลสตรอเบอรี หรือชิ้นสวนของใบและราก<br />

ตนกลวยไม มีการชักนําใหเพิ่มขึ้นของกิจกรรม antioxidant enzymes บางชนิด เชน SOD และ CAT<br />

ซึ่งมีบทบาทในการปกปองอันตรายของเซลลพืชจาก ROS (Ali et al., 2005; Vicente et al., 2006)<br />

การใหความรอนกับผักสลัดกอนที่ทําการตัดแตงบางสวน สามารถลดการเกิดสีน้ําตาลบริเวณ<br />

บาดแผลจากการตัดแตง เนื่องจากหลังจากพืชไดรับความรอนทําใหมีการสังเคราะห HSP เพิ่มขึ้น<br />

และลดการสังเคราะหโปรตีนหรือเอนไซมที่เกี่ยวของกับ phenolic metabolism ไดแก PAL<br />

(Saltveit, 2000)<br />

4. กลไกการเกิดอาการสะทานหนาวของใบพืชสกุลกะเพรา<br />

จากผลการทดลองที่กลาวมาขางตน โดยการเปรียบเทียบแมงลักใบออนและใบแก ซึ่งมี<br />

ความไวตออุณหภูมิต่ําและมีความแตกตางทางสรีรวิทยาและชีวเคมีบางอยางแตกตางกัน สาเหตุ<br />

เบื้องตนในการเกิด CI ของใบพืชสกุลกะเพรานาจะเกี่ยวของกับความเสียหายของเยื่อหุมเซลล ซึ่ง<br />

อาจมีความสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงอัตราสวนของกรดไขมันไมอิ่มตัวตอกรดไขมันอิ่มตัวรวม<br />

(UFA/SFA ratio) ในใบออนมี UFA/SFA ratio เพิ่มขึ้นหลังการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา (4 o ซ) นาน<br />

12 ชั่วโมง โดยที่ใบออนยังไมมีอาการ CI เกิดขึ้น ขณะที่ในใบแก ไมมีการเปลี่ยนแปลงของ<br />

UFA/SFA ratio และใบแกแสดงอาการ CI แลว นอกจากนั้นองคประกอบของกรดไขมันไมอิ่มตัวที่<br />

แตกตางกันอาจมีความสัมพันธกับอาการ CI ของใบแมงลัก จากผลการทดลองพบวาใบออนมี<br />

ปริมาณ linoleic acid (C18:2) มากกวาใบแกเกือบ 2 เทา แตในทางตรงกันขามพบ linolenic acid<br />

(C18:3) ในใบออนนอยกวาใบแกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ กรดไขมันไมอิ่มตัวทั้งสองชนิดนี้ เปน<br />

92

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!