01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

32<br />

มิลลิเมตร ทําปายขนาดเล็กดวยกระดาษ ระบุชื่อของตัวอยางหรือรหัส นําชิ้นเนื้อเยื่อและปายแชลง<br />

(Fix) ในสารละลาย 50% FAA นาน 1 วัน ที่อุณหภูมิหอง แลวนําไปผานขั้นตอนการดึงน้ําออก<br />

(dehydrate) ดวย TBA series ที่ความเขมขน 50% 70% 85% 95% และ 100% (3:1 TBA:100%<br />

EtOH) ใชเวลาแชเนื้อเยื่อ 10-12 ชั่วโมง ในแตละความเขมขน หลังจากแชใน 100%TBA จนครบ<br />

เวลา เทสารเกาออกเติม absolute TBA ทิ้งไวประมาณ 12 ชั่วโมง เปลี่ยนสาร absolute TBA ใหม<br />

แชซ้ําตออีก 12 ชั่วโมง จากนั้นยายเนื้อเยื่อลงในหลอด Eppendrof แลวเติม liquid paraplast<br />

ปลอยใหแข็งตัว เปดฝาตัวอยางนําไปเก็บไวในตูอบ ประมาณ 2 วัน แลวทําการเปลี่ยน paraplast<br />

ใหมทุกวัน เปนเวลา 3 วัน จึงยายเนื้อเยื่อลงในบลอกพลาสติกที่มีอะลูมิเนียมฟอลยขึ้นรูป จัดชิ้น<br />

เนื้อเยื่อใหอยูในระนาบที่ตองการ ปลอยใหแข็งตัว แชตัวอยางในน้ําแข็ง กอนนําไปตัดตามขวาง<br />

ดวย เครื่องตัดเนื้อเยื่อแบบมือหมุน (rotary microtome; MH335, Germany) ความหนาของชิ้น<br />

เนื้อเยื่อ 8 ไมครอน ยอมสีสไลดดวย toluidine blue (Sekai, 1973) ตรวจเช็คการเปลี่ยนแปลง<br />

ลักษณะองคประกอบของเซลล ภายใตกลองจุลทรรศนที่กําลังขยาย 100 เทา<br />

การทดลองที่ 4 ศึกษาการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวของกับการเกิดสีน้ําตาลในใบพืชสกุลกะเพรา<br />

การศึกษาการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวของกับการเกิดสีน้ําตาลในใบพืชสกุลกะเพรามี<br />

ขั้นตอนการดําเนินงานดังตอไปนี้<br />

4.1 การออกแบบไพรเมอร ตามขั้นตอนตอไปนี้<br />

4.1.1 สืบคนขอมูล nucleotide ในฐานขอมูล NCBI (http://www.ncbi.nlm.nih.gov)<br />

โดยใชชื่อที่มีความเฉพาะเจาะจงกับสิ่งที่ทําการศึกษามากที่สุด ซึ่งใชสองคําคือ lipoxygenase หรือ<br />

polyphenol oxidase และคําวา chilling หรือ low temperature ตรวจเช็ครายละเอียดของผลที่ไดวา<br />

เปนยีนแบบ full length หรือ partial รายละเอียดของยีน การตีพิมพในวารสาร และคัดเลือกที่เรา<br />

สนใจเปนยีนหลัก<br />

การออกแบบไพรเมอรแบบเฉพาะเจาะจง (specific primer) โดยคัดลอกลําดับ<br />

เบสของยีนหลัก นําไปเทียบคู (alignment) ในสวน nucleotide blast (blastn) เลือกยีนที่มีความ<br />

เหมือน (identity) ของนิวคลีโอไทดใน DNA กับฐานขอมูล มากกวา 85% จํานวน 5-7 ชนิด<br />

คัดลอกลําดับเบสของยีนเหลานั้น เพื่อไปตรวจสอบหาบริเวณอนุรักษ (conserve region) ถาผล<br />

ยีนที่ไดจาก blastn มีเปอรเซ็นตความเหมือนต่ําหรือมียีนที่มีความเหมือน 100 เปอรเซ็นต เพียง 1-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!