01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สม ซึ่ง 1-MCP เกี่ยวของกับการยับยั้งการทํางานของเอทิลีนในการเรงกระบวนการสุกหรือเรงการ<br />

เสื่อมสภาพของผลิตผล (Sisler and Serek, 2003; Watkins et al., 2006) ในการทดลองครั้งนี้พบวา<br />

ผลของสาร1-MCP ชวยชะลอการพัฒนาอาการ CI ในใบแกของแมงลักเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา<br />

ในชวงระยะเวลาสั้น ๆ หรือเปนแบบชั่วคราว และพบวาการเพิ่มความเขมขน 1-MCP ไมทําใหมี<br />

การชะลออาการ CI เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 18) แตหลายการศึกษาระบุวาใบพืชสกุลกะเพราจัดเปนพืชที่มี<br />

ความไวตอเอทิลีนสูง และ การใช 1-MCP ความเขมขนต่ํา สามารถยืดอายุการเก็บรักษา ชะลอการ<br />

สูญเสียคลอโรฟลล ลดการรวงของใบ รวมทั้งลดความเสียหายจากการเกิด CI ได โดยการยับยั้ง<br />

หรือปองกันการทํางานของเอทิลีนจากแหลงภายนอก (Aharoni et al., 1993; Bower and Mitcham,<br />

2001; Able et al., 2003) แตจากผลการทดลองการใช 1-MCP ความเขมขน 100 nLL -1 สามารถ<br />

ชะลอ CI แบบชั่วคราวแตกตางทางสถิติกับชุดควบคุม ในชวง 0-12 ชั่วโมง แตหลังจากการเก็บ<br />

รักษาที่ 4 o ซ เปนเวลา 24 ชั่วโมง มีการสะสมของเอทิลีนในถุงที่บรรจุใบแมงลักเพิ่มมากขึ้น<br />

สอดคลองกับอาการสะทานหนาวที่รุนแรงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับใบแมงลักที่เก็บรักษาที่ 12 o ซ<br />

(ไมไดแสดงขอมูล) การให 1-MCP ความเขมขนต่ําไมมีผลตอการรั่วไหลของประจุ ในทางตรงขาม<br />

กลับเพิ่มขึ้น<br />

3.2 การใชสาร salicylic acid (SA)<br />

สาร SA เปนสารที่พืชมีการสังเคราะหเพิ่มขึ้นในสภาพที่เกิดความเครียดเนื่องจาก<br />

สิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต บทบาทของสารนี้เกี่ยวของกับการถายทอดสัญญาณทําใหพืชมีการ<br />

ปรับตัวในสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม (Klessing and Malamy, 1994) การใหสาร SA และสาร<br />

methyl salicylate กอนการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา ในผักกินผลหรือผลไมบางชนิด ไดแก ฝรั่ง<br />

มะเขือเทศ พริกหวาน สามารถชะลอเกิด CI ภายหลังการเก็บรักษา (Ding et al., 2001; Fung et al.,<br />

2004; González-Aguilar et al., 2004) จากผลการทดลองพบวา การจุมกานแมงลักใบแกใน<br />

สารละลาย SA ที่ความเขมขน 0.5 mM เปนเวลานาน 10 นาทีกอนเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ํา สามารถ<br />

ชะลอการพัฒนาของอาการ CI ไดนาน 24 ชั่วโมง และชะลอการเพิ่มขึ้นของคา EL (ภาพที่ 19)<br />

สอดคลองกับผลการศึกษาใน ตนกลาขาวโพด ตนกลาขาว และผลทอ พบวาการใหสาร SA ชวย<br />

เพิ่มความตานทานตอการเกิดอาการสะทานหนาว ชะลอการเพิ่มขึ้นของคา EL จากเนื้อเยื่อใบ<br />

และไฮโพคอทิล และเกี่ยวของกับการเพิ่มกิจกรรมของเอนไซมในระบบตานอนุมูลอิสระ ไดแก GR<br />

และ GPX (Kang and Saltveit, 2002; Wang et al., 2006a)<br />

90

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!