01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

24<br />

1.2 ประเมินคุณภาพของกลิ่นรส (ดัดแปลงจาก Loaiza and Cantwell, 1997)<br />

เตรียมสุมตัวอยางใบแกที่เกิดอาการสะทานหนาวและใบที่เก็บรักษาอุณหภูมิหอง<br />

เปนชุดควบคุม น้ําหนักใบ 5 กรัมตอตัวอยาง นําไปใสในถวยพลาสติกที่หอหุมฝาดวยอลูมิเนียม<br />

ฟอลยเจาะรู กําหนดจํานวนผูประเมิน 8-10 คน เปรียบเทียบกลิ่นของตัวอยางใบ และใหคะแนน<br />

1 ถึง 5 ดังนี้<br />

1 คะแนน ไมมีกลิ่นหอม<br />

2 คะแนน มีกลิ่นนอยมาก<br />

3 คะแนน มีกลิ่นหอมนอย<br />

4 คะแนน มีกลิ่นหอมปานกลาง<br />

5 คะแนน มีกลิ่นหอมเทากับหรือใกลเคียงกับชุดควบคุม<br />

ทําการบันทึกผลกรณีที่พบวาการทดลองที่พบวามีกลิ่นผิดปกติแตกตางจากสายพันธุ<br />

ของพืชสกุลกะเพราที่ทําการทดลอง<br />

2. คาการรั่วไหลของประจุ (electrolyte leakage) (ดัดแปลงวิธีการของ Campos et al., 2003)<br />

นําตัวอยางใบพืชมาตัดใหเปนชิ้นสี่เหลี่ยมขนาดประมาณ 0.5 ตารางเซนติเมตร ดวยใบมีด<br />

โกน ชั่งเนื้อเยื่อใบ 0.5 กรัมตอซ้ํา ทํา 3 ซ้ําตอตัวอยาง ลางเนื้อเยื่อดวยน้ํา deionized 3 ครั้ง แลวใส<br />

ในขวดแกวรูปชมพูที่มีน้ํา deionized ปริมาตร 30 มิลลิลิตร (mL) นําไปวางบนเครื่องเขยาที่มี<br />

ความเร็วรอบ 100 รอบตอนาที เปนเวลา 1 ชั่วโมง วัดคาการนําไฟฟาดวย เครื่องวัดคาการนําไฟฟา<br />

(conductance meter; Consort model C831, Belgium) จากนั้นนําขวดแกวที่มีชิ้นเนื้อเยื่อใบไปแชใน<br />

น้ําอุณหภูมิ 100 o ซ นาน 10 นาที ตั้งทิ้งไวใหเย็นที่อุณหภูมิหอง วัดคาการรั่วไหลของประจุอีกครั้ง<br />

นําขอมูลไปคํานวณเปอรเซ็นตการรั่วไหลของประจุดังสูตร<br />

เปอรเซ็นตการรั่วไหลของประจุ = คาการนําไฟฟากอนตม x 100<br />

คาการนําไฟฟาหลังตม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!