01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

23<br />

ปจจัยที่ 2 คือ ความแกทางสรีรของใบพืช แบงเปน 2 ระยะ คือ ใบออน และใบแก ใบ<br />

ออนที่ทําการศึกษาคือ ใบคูที่ 1 และ 2 นับจากสวนยอด สวนใบแกจะเปนใบคูที่ 3 เปนตนไป<br />

ปจจัยที่ 3 คือ ระดับอุณหภูมิที่ใชเก็บรักษา มี 2 ระดับคือ 4 และ 12 o ซ ความชื้น<br />

สัมพัทธภายในภาชนะบรรจุประมาณ 80 ± 5 เปอรเซ็นต (%)<br />

สุมตัวอยางพืชทุก 12 ชั่วโมง เปนเวลา 48 ชั่วโมง บันทึกการเปลี่ยนแปลงและ<br />

ประเมินคุณภาพของใบพืชหลังจากการเก็บรักษา และเก็บตัวอยางใบสด (เฉพาะสวนของแผนใบ)<br />

น้ําหนัก 5 กรัมตอซ้ําเก็บ 3 ซ้ําตอตัวอยาง นําไปแชแข็งในไนโตรเจนเหลว แลวนําไปเก็บในตูแช<br />

แข็งที่อุณหภูมิ -70 o ซ เพื่อใชในการสกัด RNA และวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมของ<br />

เอนไซมชนิดตาง ๆ รายละเอียดดังตอไปนี้<br />

1. การประเมินคุณภาพผลผลิต<br />

1.1 ประเมินอาการสะทานหนาว (ดัดแปลงจาก Thomson et al., 2001) โดยประเมิน<br />

อาการสะทานหนาวใบเฉลี่ยแตละกิ่ง แบงออกเปน 5 ระดับมีคะแนนตั้งแต 1 ถึง 5 ดังนี้<br />

1 คะแนน ไมมีความเสียหาย<br />

2 คะแนน พบจุดสีดําหรือสีน้ําตาลเกิดขึ้นหลายจุดบนใบ (ยังไมเห็นชัด)<br />

3 คะแนน เกิดจุดสีน้ําตาลขึ้นบนใบ มีพื้นที่ที่เกิดความเสียหายนอยกวา 30%<br />

4 คะแนน มีจุดสีน้ําตาลเขมถึงดํา บนใบคอนขางมาก มีพื้นที่ 30-50%<br />

5 คะแนน มีความเสียหายเกิดขึ้นบนใบมีพื้นที่มากกวา 50%<br />

นับจํานวนกิ่งที่มีคะแนนแตกตางกัน คํานวณคาดัชนีการเกิดอาการสะทานหนาวดังสูตร<br />

ดัชนีการเกิดอาการสะทานหนาว = ระดับคะแนน x จํานวนกิ่งที่เกิดอาการที่ระดับคะแนน<br />

จํานวนกิ่งทั้งหมดในซ้ํา (ถุง) พืชทดลอง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!