01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ใบแมลงลักและโหระพา ใบออนและใบแกเก็บรักษาที่ 4 และ12 o ซ พบวาใบออนมีกิจกรรมสูงกวา<br />

ใบแกในการเก็บรักษาทั้ง 2 อุณหภูมิ โดยมีแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมลดลง ระหวาง<br />

การเก็บรักษาที่ 4 o ซ แตใบแกมีกิจกรรมลดลงเร็วกวาใบออน (ภาพที่ 12 A และ C) ในใบแมงลัก<br />

รักษาเก็บที่ 12 o ซ พบวามีกิจกรรมคอนขางคงที่ทั้งในใบออนและใบแก แตในใบออนมีกิจกรรม<br />

เพิ่มขึ้นเล็กนอยตลอดการเก็บรักษา สวนในใบแกมีกิจกรรมเพิ่มขึ้นชั่วคราวหลังเก็บรักษานาน 12<br />

ชั่วโมง จากนั้นมีกิจกรรมลดลงแลวมีกิจกรรมคงที่ สําหรับใบโหระพาพบวามีกิจกรรม PPO ในใบ<br />

ออนสูงกวาใบแกเหมือนกับใบแมงลัก แตมีกิจกรรมคอนขางคงที่ทั้งที่อุณหภูมิ 4 และ 12 o ซ แตใบ<br />

แกมีกิจกรรมเพิ่มสูงขึ้นแบบชั่วคราว หลังการเก็บรักษาที่ 4 o ซ นาน 36 ชั่วโมง แตกิจกรรมลดลง<br />

ต่ําสุดหลังการเก็บรักษานาน 48 ชั่วโมง (ภาพที่ 12 B และ D) กิจกรรมเอนไซม PPO โดยรวมในใบ<br />

แมงลักมีคาสูงกวาใบโหระพา<br />

51<br />

เมื่อเปรียบเทียบกิจกรรมเอนไซม PPO PAL และปริมาณสารประกอบฟนอลิก (ในรูปของ<br />

rosmarinic acid) ในใบแกของโหระพาและแมงลักที่มีคาดัชนีอาการสะทานหนาวหรืออาการสี<br />

น้ําตาลที่ระดับความรุนแรงตางกัน หลังการเก็บรักษาที่ 4 o ซ พบวาโดยรวมกิจกรรมของเอนไซม<br />

PPO ใบแมงลักสูงกวาใบโหระพา โดยชวงเริ่มตนของการเกิดสีน้ําตาล (CI2) มีกิจกรรมเอนไซม<br />

มากกวาใบที่ยังไมเกิดอาการสะทานหนาว (CI1) อยางเห็นไดชัด แตกลับมีกิจกรรมลดลงเมื่อมีการ<br />

พัฒนาอาการสีน้ําตาลรุนแรงมากขึ้น แตในโหระพามีกิจกรรมคอนขางคงที่ โดยมีกิจกรรมสูงขึ้น<br />

เล็กนอยเมื่อใบมีการพัฒนาอาการสีน้ําตาลรุนแรงมากที่สุด (CI4) (ภาพที่ 13 A) แตกิจกรรม<br />

เอนไซม PAL ในใบแมงลักมีคาเพิ่มขึ้นเล็กนอยระหวางการพัฒนาอาการที่รุนแรงขึ้น แตใน<br />

โหระพามีสูงขึ้น ชวงเริ่มตนของการเกิดสีน้ําตาล (CI2) และมีกิจกรรมลดลงเล็กนอยเมื่ออาการ<br />

สะทานหนาวรุนแรงขึ้น (ภาพที่ 13 B) สําหรับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสารประกอบฟนอลิก<br />

(เปรียบเทียบกับ rosmarinic acid) พบวาในใบโหระพามีปริมาณมากกวาในใบแมงลักแตกตางอยาง<br />

มีนัยสําคัญ โดยมีปริมาณคอนขางคงที่ระหวางการพัฒนาอาการสะทาน ยกเวนในใบแมงลักที่มีการ<br />

พัฒนาอาการสีน้ําตาลรุนแรงมากที่สุด (CI4) มีปริมาณสารฟนอลิกในใบลดลงอยางเห็นไดชัด (ภาพ<br />

ที่ 13 C)<br />

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณสารประกอบฟนอลิกในแมงลักใบออนและใบแก หลังการเก็บ<br />

รักษาที่ 4 และ 12 o ซ พบวามีคาคอนขางใกลเคียงกันทั้งในใบออนและใบแก แตในใบโหระพามี<br />

ปริมาณสารฟนอลิกเพิ่มขึ้นหลังการเก็บรักษาใบแกที่ 4 o ซ นาน 24 ชั่วโมง แตโดยรวมแลวปริมาณ<br />

สารประกอบฟนอลิกในใบโหระพามีคามากกวาใบแมงลัก (ภาพที่ 14)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!