01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

67<br />

การทดลองที่ 3 ศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของใบพืชสกุลกะเพรา<br />

เมื่อเปรียบเทียบลักษณะกายวิภาคใบแกของแมงลัก หลังการเก็บรักษาที่ 4 o ซ นาน 24<br />

ชั่วโมง พบวาเซลลในชั้น spongy parenchyma ซึ่งอยูติดกับบริเวณดานหลังใบ เกิดการยุบตัว<br />

สอดคลองกับการปรากฏอาการยุบตัวของเนื้อเยื่อใบที่เกิดขึ้นบริเวณทองใบกอน สวนเซลลในชั้น<br />

palisade parenchyma มีสภาพสมบูรณไมแตกตางกับกอนการเก็บรักษา (ภาพที่ 16 A และ B) แต<br />

เมื่อใบแมงลักมีอาการสะทานหนาวในระดับรุนแรงขึ้น พบวาบริเวณเนื้อเยื่อที่เกิดสีน้ําตาล มีการ<br />

ยุบตัวทั้งเซลลในชั้น spongy parenchyma และ palisade parenchyma ในขณะที่เนื ้อเยื่อใบที่ไมเกิดสี<br />

น้ําตาล (healthy tissue) ซึ่งที่อยูติดกับบริเวณที่เกิดสีน้ําตาล ยังคงมีสภาพของเซลลปกติ (ภาพที่ 17)<br />

เมื่อเปรียบเทียบลักษณะกายวิภาคใบออนและใบแกของแมงลัก โหระพาและกะเพรา พบวาใบแกมี<br />

ความหนาแนนของเซลล palisade parenchyma นอยกวาใบออน แตใบกะเพรามีลักษณะที่คลายกัน<br />

ทั้งใบออนและใบแก (ไมแสดงขอมูล)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!