01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

20<br />

ไดทั้งเชื้อราและแมลง และนิยมใชในศึกษาการตอบสนองของพืชตอการเปลี่ยนแปลงทาง<br />

สรีรวิทยา (Lurie, 1998) การตอบสนองของผลผลิตตอความรอนมีลักษณะที่แตกตางกันขึ้นอยูกับ<br />

ชนิดหรือลักษณะกายภาพของผลผลิต วิธีการใหความรอน ชวงระยะเวลาและอุณหภูมิที่ใช ใน<br />

ผลไมและผักผลประเภท climacteric พบวาความรอนมีผลตอการชะลอการสุกของผล โดยการ<br />

ยับยั้งเอนไซมที่เกี่ยวของกับการยอยสลายผนังเซลล ยับยั้งกิจกรรมเอนไซม ACS และ ACO และ<br />

ชะลอการผลิต ACC ซึ่งทําใหเกิดการยับยั้งการสังเคราะหเอทิลีน และเปลี่ยนแปลงการแสดงออก<br />

ของยีน (Klein and Lurie, 1990; Ketsa et. al., 1999)<br />

พืชที่ไดรับอุณหภูมิที่สูงกวา 35 o ซ ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของ polyribosome สวนใหญ<br />

มีการแยกออกจากกัน แต polyribosome ของ heat shock protein (HSP) ที่ชอบสภาพอุณหภูมิสูง<br />

จะมีการจับตัวกัน แปรรหัสเปน mRNA (Ferguson et al., 1994) ในผลมะเขือเทศที่ไดรับความรอน<br />

สามารถลดอาการ CI มีความสัมพันธกับการแสดงออกของยีน HSPs แตระบุวาอาจมีสาเหตุอื่น<br />

หรือปจจัยอื่นที่เกี่ยวของกับความตานทานตอ CI ของผลมะเขือเทศ (Vlachonasios, 1999) เอนไซม<br />

ตานอนุมูลอิสระหลายชนิด เชน CAT SOD POD หรือ APX มีกิจกรรมเพิ่มขึ้นหลังจากไดรับ<br />

ความรอน และชะลอความเสียหายจากการเกิด CI ในผลผลิตหลายชนิด เชน สมแมนดาริน สตรอ<br />

เบอรี (Vicente et al., 2006 ; Ghasemnezhad et al., 2007) การปรับสภาพพืชโดยการใหความรอน<br />

เปนชวงเวลานาน สามารถชักนําใหผลสมเกิดความตานทานตอความเย็น โดยพบการสังเคราะห<br />

transcription factors ชนิดใหม มีการกระตุนใหเกิด secondary metabolism และ stress-related<br />

proteins (Sanchez-Ballesta et al., 2003) สารเคมีหลายชนิดที่มีบทบาทเปน signal molecule เชน<br />

SA MeJA สามารถชักนําใหเกิดการสราง HSP เชนเดียวกันกับการใหความรอน HSP ที่พืชสราง<br />

ขึ้นอาจจะมีบทบาทสําคัญในการปรับตัวในสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม (González-Aguilar et al.,<br />

2006)<br />

การประยุกตใชความรอนสูงในชวงเวลาสั้น ๆ สามารถลดความเสียหายจากอาการสะทาน<br />

หนาวของพืชที่มีความไวตออุณหภูมิต่ําและการเกิดสีน้ําตาลในผักพรอมบริโภคบางชนิด การให<br />

ความรอนกับชอใบโหระพาที่อุณหภูมิ 38 o ซ นาน 4-8 ชั่วโมงกอนการเก็บรักษาในอุณหภูมิ 9 o ซ ทํา<br />

ใหใบโหระพามีความไวตออาการสะทานหนาวลดลง มีความสัมพันธกับการแสดงออกของยีนที่<br />

ถอดรหัสเปนโปรตีนหรือเอนไซม ribulose 1-5 bisphosphate carboxylase oxygenase (Rubisco) ซึ่ง<br />

มีบทบาทในการยอยสลายโปรตีน (Aharoni et al., 2004; Faure et al., 2004) ในการใหความรอนที่<br />

อุณหภูมิ 45 o ซ เปนเวลา 4 ชั่วโมงกับผักกาดหอมหอพันธุ Iceberg กอนเกิดบาดแผลจากการหั่นชิ้น<br />

หรือการใหความรอนที่ 45 o ซ นาน 2 ชั่วโมง หลังจากหั่นชิ้น ชะลอการทํางานของเอนไซม PAL

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!