25.10.2023 Views

ASA JOURNAL 14/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

MATERIALS, TOOLS, TECHNIQUES FUNDAMENTAL FACTORS<br />

IN THE DESIGN PROCESS AND WOOD ARCHITECTURAL WORK<br />

133<br />

เนื้อไม้เป็นส่วนซึ่งเหมาะสมสำาหรับการใช้งานมากที่สุด เนื้อไม้ที่ดีใน<br />

อุดมคติควรปราศจากตาไม้10 ลักษณะที่อาจแตกหรือหลุดซึ่งในทาง<br />

วิศวกรรมโครงสร้างมีผลโดยตรงต่อคุณสมบัติเชิงกลของวัสดุไม้แปรรูป<br />

ในทางสถาปัตยกรรมย่อมมีผลต่อความทนทานและความงามอย่าง<br />

ปฏิเสธไม่ได้ นอกจากนั้นในการทำางานตาไม้ที่แม้จะไม่ใช่ตาแตกหรือ<br />

หลุดอาจเป็นอุปสรรคต่อการทำางานบางประเภทซึ่งส่งผลต่อคุณภาพ<br />

ของผลงาน ตาไม้ที่ปรากฏนั้นเป็นบริเวณกิ่งของต้น ไม้แปรรูปจากต้น<br />

ซึ่งมีอายุก่อนตัดโค่นมากและมีขนาดความโตสูงนั้นมีทางเลือกในการ<br />

แปรรูปเลี่ยงส่วนใกล้กระพี้และเปลือกได้มากกว่าเพื่อให้ปรากฏตำาหนิ<br />

ประเภทตาไม้น้อยกว่าหรือมีลักษณะตาไม้ที่ไม่เป็นตำาหนิที่อาจเกิด<br />

ความเสียหายอย่างมีนัยสำาคัญ(ขนาดความโตของไม้ตัดโค่น คือ ขนาด<br />

เส้นรอบวงของลำาต้นบริเวณกึ่งกลางของลำาต้นไม้ตัดโค่นนั้นโดยอาจทด<br />

ส่วนเปลือกและกระพี้) นอกเหนือจากตาไม้ประเภทตาแตกหรือตาหลุด<br />

แล้วยังมีลักษณะทางกายภาพประเภทอื่นๆบนเนื้อไม้ที่เป็นตำาหนิ อาทิ<br />

รูมอดและร่องรอยการทำาลายเนื้อไม้จากแมลงกัดเจาะประเภทต่างๆ,<br />

การเสื่อมสภาพจากรา เช่น ราผุ ราผิว หรือ ราเสียสี, เนื้อไม้แตกร้าว<br />

เนื่องจากการแลกเปลี่ยนความชื้นที่บริเวณปลายไม้ End check หรือที่<br />

ผิว Surface check เป็นต้น<br />

กระพี้เป็นส่วนประกอบของไม้ที่ยังมีชีวิตในขณะที่ตัดโค่น ประกอบด้วย<br />

ท่อลำาเลียงน้ำาและอาหารซึ่งยังทำางานอยู่เพื่อการเจริญเติบโตของต้น<br />

กระพี้มีลักษณะอ่อนนุ่มและเป็นแหล่งอาหาร/เจริญเติบโต/เจริญพันธุ์<br />

ที่เหมาะสมของศัตรูทำาลายไม้จึงพบว่าส่วนกระพี้เป็นบริเวณที่ถูกทำาลาย<br />

โดยศัตรูทำาลายไม้มากแม้แต่ส่วนกระพี้ของไม้สักซึ่งกล่าวกันว่าทนทาน<br />

ต่อการทำาลายโดยปลวกและแมลงกัดเจาะก็ตาม นอกเหนือจากการ<br />

ทำาลายโดยศัตรูทำาลายไม้แล้วความหนาแน่นที่ต่ำากว่าบริเวณเนื้อไม้<br />

ทำาให้มีผลต่อการทำางานตกแต่งผิวในงานสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง<br />

รวมทั้งส่วนกระพี้ยังพร่องคุณสมบัติเชิงกลในเชิงโครงสร้างเนื่องจาก<br />

อายุ อาจกล่าวได้ว่านอกจากข้อจำากัดทางคุณสมบัติทางกายภาพแล้ว<br />

ยังมีข้อจำากัดด้านคุณสมบัติเชิงกลอีกด้วยซึ่งหากพิจารณารายการ<br />

ประกอบแบบและข้อกำาหนดทั่วไปในการก่อสร้าง General specification<br />

โดยทั่วไปจะพบว่าระบุว่ากระพี้เป็นส่วนที่เป็นตำาหนิและไม่อนุญาตให้<br />

ใช้สำาหรับองค์ประกอบทางโครงสร้าง<br />

ข้อสังเกตสำาคัญอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับวัสดุไม้ คือ วัสดุไม้ควรต้อง<br />

ได้รับการอบ 11 ก่อนนำามาใช้งานหรือไม่ ซึ่งควรจะทำาความเข้าใจกัน<br />

ก่อนว่า “เหตุใดจึงต้องอบไม้” ไม้เมื่อตัดโค่นแล้วจะคายน้ำาออกจน<br />

สมดุลกับความชื้นในสภาพแวดล้อมของไม้นั้น กระบวนการคายน้ำาจะ<br />

เริ่มต้นจากน้ำา Free water ซึ่งอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ Cell cavity<br />

ก่อน ในขั้นตอนนี้น้ำาหนักของไม้จะลดลงแต่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง<br />

ทางขนาด 12 และรูปทรง 13 (การเปลี่ยนแปลงทางรูปทรงเกิดจากความ<br />

ไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลงทางขนาดในระนาบรัศมี<strong>14</strong> กับระนาบผิว<br />

สัมผัส 15 ) จนเมื่อถึงจุดอิ่มตัว FSP-Fiber saturation point (หมายถึง<br />

จุดอิ่มตัวของน้ำาในเซลล์) น้ำา Free water ซึ่งอยู่ในช่องว่างระหว่าง<br />

เซลล์16 ถูกคายออกจนหมดไป น้ำา Bound water ซึ่งอิ่มอยู่ในเซลล์จึง<br />

เริ่มถูกคายออก ซึ่งการคายออกของน้ำาที่อิ่มตัวอยู่ในเซลล์ทำาให้เซลล์<br />

Heartwood is the most useful portion of a tree. The optimal<br />

heartwood should be devoid of knots, which may fracture<br />

or fall off. This may directly affect the mechanical properties<br />

of the lumber material in structural engineering. It has an<br />

undeniable impact on the durability and attractiveness of<br />

buildings. Moreover, working with these knots, even if they<br />

are not broken or falling off, may be a hindrance for certain<br />

types of work, thereby influencing the quality of the work.<br />

The tree’s tendrils are its knots. Lumber from aged pre-falling<br />

trees and of larger size has more processing options by<br />

avoiding the near sapwood and bark, resulting in fewer knot<br />

defects or non-knot appearances, or the knot with no defect<br />

that may cause significant damage (the circumference of<br />

the trunk in the middle of the felled tree trunk is the size of<br />

the felled tree). Other physical characteristics of defective<br />

heartwood include moth holes and traces of heartwood<br />

damage caused by various types of insect borers; fungal<br />

deterioration such as rot, mold, or discoloration; heartwood<br />

cracks caused by moisture exchange at the end check or<br />

surface check, etc.<br />

Sapwood is the vegetative portion of the tree when it is cut<br />

down. It contains xylems, the vessels or conduits that transport<br />

water and nutrients, which are still active for plant development.<br />

Sapwood is soft and an ideal sustenance, growth, and<br />

reproduction source for wood-destroying organisms. Even<br />

the sapwood of teak, which is reputed to be resistant to<br />

wood pests and insect borers, has been found to be the<br />

most susceptible to infestation by wood pests. In addition<br />

to being harmed by insects, the wood’s lower density effects<br />

the surface finish in architecture and decoration, and the<br />

sapwood loses its mechanical properties as it ages. In addition<br />

to these mechanical property restrictions, there are additional<br />

mechanical property restrictions that, according to the general<br />

construction requirements and specifications, identify sapwood<br />

as a defect component and prohibit its use in structural<br />

applications.<br />

Before using wood materials, it is essential to determine<br />

whether or not they must be cured. It must first be understood<br />

why drying the wood is necessary. When wood is cut<br />

down, it dehydrates until its moisture content matches that<br />

of its surroundings. The process of dehydration begins with<br />

unrestricted water in the cell cavity. At this stage, the weight<br />

of the wood decreases, but there is no change in size or shape<br />

(the shape change is caused by the dimensional imbalance<br />

changes in the radial plane and the tangent plane) until the<br />

wood reaches the FSP (fiber saturation point), or the point of<br />

intracellular water saturation. The intercellular space’s free<br />

water is discharged. Saturated, bonded water in the cell begins<br />

to be released until it is gone. In addition to the change in<br />

weight, the evaporation of the saturated water within the cell<br />

causes the cell to begin to change in size and shape. The

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!