25.10.2023 Views

ASA JOURNAL 14/2023

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ผศ. คมกฤช ธนะเพทย์ อาจารย์ประจำาภาควิชาการวางแผน<br />

ภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย เริ่มต้นการบรรยาย หัวข้อ “เมืองอย่าง<br />

กรุงเทพฯ เหมาะสำาหรับคนพิเศษแค่ไหน” ด้วยการตั้ง<br />

คำาถามเปิดประเด็นที่น่าสนใจ อย่างเช่น พวกเราต้องใช้<br />

ความพยายามมากแค่ไหนในการเดินทางออกจากบ้าน<br />

มายัง BACC กฎหมายควบคุมอาคารอย่างเดียวเพียงพอ<br />

และเหมาะกับคนใช้งานทุกกลุ่มหรือไม่ ในการบรรยายนี้<br />

ผศ.คมกฤช ได้อธิบายเนื้อหาของโครงการทุนวิจัยสหศาสตร์<br />

เรื่อง “แนวทางการออกแบบพื้นที่เมืองเพื่อการเรียนรู้สำ าหรับ<br />

บุคคลที่มีความต้องการพิเศษในเขตกรุงเทพมหานคร”<br />

โดยชี้แจงว่าประเทศไทยมีจำานวนผู้พิการที่ขึ้นทะเบียนกับ<br />

ทางรัฐเป็นจำานวนประมาณสองล้านคน เฉพาะในเขตกทม.<br />

เพียงอย่างเดียว มีจำานวนผู้พิการประมาณหนึ่งแสนคน<br />

ผศ. คมกฤช ได้ให้คำาจำากัดความคำาว่า “คนพิเศษ” ประกอบ<br />

ไปด้วยคนสี่กลุ่ม ได้แก่ ผู้ที่มีความบกพร่องและมีความ<br />

ต้องการพิเศษด้านพัฒนาการและพฤติกรรม ด้านร่างกาย<br />

ด้านสายตา ด้านการได้ยิน กลุ่มบุคคลเหล่านี้เดินทางไป<br />

ยังจุดต่างๆ ของเมืองได้ยากลำาบาก โดยเฉพาะการข้าม<br />

โซนออกนอกเขตพื้นที่อาศัยของตนเอง อีกทั้งกรุงเทพฯ<br />

ยังขาดแคลนสิ่งอำานวยความสะดวกสำาหรับบุคคลเหล่านี้<br />

บนพื้นที่สาธารณะ ที่จะช่วยให้พวกเขาเหล่านั้นใช้ชีวิตได้<br />

ใกล้เคียงบุคคลธรรมดา ผศ. คมกฤช จึงสนับสนุนการ<br />

ออกแบบตามหลักการเมืองสุขภาวะ (Healthy City) และ<br />

สนับสนุนให้นักออกแบบศึกษาวิธีการออกแบบที่สอดคล้อง<br />

กับระบบผัสสะ (Sensory Design) เช่น การออกแบบที่<br />

ปลอดภัย เข้าถึงและเข้าใจง่าย มีความเป็นธรรมชาติสูง<br />

สร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มิใช่ออกแบบให้ครบ<br />

ถ้วนตามกฎกระทรวงเพียงอย่างเดียว<br />

<strong>ASA</strong> Infinity Ground—Thailand and Taiwan<br />

Contemporary Architecture Exhibition<br />

“Is Bangkok a City for People with Special Needs?”<br />

Assistant Professor Komgrit Thanapet<br />

Assistant Professor Komgrit Thanapet, Lecturer,<br />

Department of Regional and Urban Planning,<br />

Faculty of Architecture, Chulalongkorn University,<br />

begins the presentation by questioning how much<br />

effort we expend getting out of the house to attend<br />

the lecture. Is the building code sufficient and<br />

appropriate for all user groups? In this presentation,<br />

Asst. Prof. Komgrit discussed the multidisciplinary<br />

research grant project “Urban Design Guidelines<br />

for the Learning of Persons with Special Needs<br />

in Bangkok.” He notes that the Thai government<br />

has registered nearly two million people with<br />

impairments. There are over 100,000 people with<br />

disabilities in the Bangkok area alone.<br />

He has defined “special people” as including four<br />

groups: those with disabilities and special requirements<br />

in terms of development and behavior; the<br />

physically challenged; the visually impaired; and<br />

the hearing impaired. It is difficult for these groups<br />

to travel to various parts of the city, particularly<br />

since they must cross the border between their own<br />

residential area and Bangkok. In public spaces,<br />

there are still insufficient facilities for these<br />

individuals. Therefore, he supports design based<br />

on the Healthy City principles and encourages<br />

designers to study design methods that are consistent<br />

with sensory design, such as safe design,<br />

easy access, being natural, enhancing the learning<br />

experience, and not completely designing based<br />

on the ministerial regulations alone.<br />

39<br />

Komgrij Thanapet<br />

Assistant Professor<br />

Department of Urban<br />

and Regional Planning,<br />

Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University<br />

Prompt Udomdech<br />

Head of Department<br />

of Architecture and<br />

Design Intelligence<br />

School of Architecture,<br />

Art, and Design, King<br />

Mongkut’s Institute of<br />

Technology Ladkrabang<br />

“Re-learning Architecture:<br />

Our Last Hope to Save Architectural Dialogue”<br />

Dr. Prompt Udomdech<br />

ดร. พร้อม อุดมเดช ผู้อำานวยการสำานักงานบริหารหลักสูตร<br />

สถาปัตยกรรมสหวิทยาการนานาชาติ สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง ได้พูดถึงความหมายของ<br />

คำาว่า “dialogue” หรือ “บทสนทนา” ซึ่งตามความหมาย<br />

ทั่วไป ผู้คนมักนึกถึงเพียงเฉพาะผู้ส่งสารและผู้รับสาร แต่<br />

เมื่อผนวกกับคำาว่า “สถาปัตยกรรม” แล้ว บทสนทนา<br />

สถาปัตยกรรมมักรวมไปถึง inclusivity, collaboration,<br />

communication, flexibility, feedback, contextualization<br />

Dr. Prompt Udomdech, Director of the International<br />

Interdisciplinary Architecture Program Administration<br />

Office at King Mongkut’s Institute of Technology<br />

Ladkrabang, discussed the significance of the<br />

term “dialogue,” which is typically associated with<br />

the sender and the recipient. However, when<br />

coupled with the word “architecture,” architecture<br />

dialogues frequently include inclusivity, collaboration,<br />

communication, flexibility, feedback, and

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!