25.10.2023 Views

ASA JOURNAL 14/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

136<br />

materials<br />

การเปลี่ยนแปลงทางขนาดเกิดขึ้นตามธรรมชาติของวัสดุไม้ โดยไม้<br />

แต่ละสายพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงทางขนาดที่แตกต่างกันจากอัตรา<br />

การหดตัว Shrinkage rate ในด้านรัศมี Radial และ ด้านผิวสัมผัส<br />

Tangential ของวงปี ไม้ทุกสายพันธุ์มีอัตราการหดตัวด้านผิวสัมผัสวงปี<br />

สูงกว่าด้านรัศมีเสมอ ข้อเท็จจริงนี้อาจใช้ประกอบการพิจารณาคัดเลือก<br />

วัสดุไม้แปรรูปและการออกแบบรายละเอียดวิธีการประกอบสร้างเพื่อ<br />

การใช้งานที่เหมาะสมแตกต่างกัน ยกตัวอย่างปัญหาที่พบบ่อยจากการ<br />

หดขยายตัวของวัสดุไม้ในการติดตั้งพื้นไม้ภายนอกอาคารในสภาพที่<br />

เผชิญสภาวะอากาศโดยตรงซึ่งเกิดการบวมเบียดกันของแผ่นพื้นไม้<br />

จนโก่งตัว อาจป้องกันด้วยการพิจารณาเลือกใช้วัสดุไม้สายพันธุ์ซึ่งมี<br />

อัตราการหดขยายตัวต่ำาร่วมกับลักษณะของไม้แปรรูปซึ่งผิวด้านหน้า<br />

กว้างเป็นระนาบรัศมีที่มีอัตราการหดขยายตัวต่ำาจากสมมติฐานที่ว่า<br />

ตัวแปรขนาดความกว้างสูงคูณด้วยค่าคงที่อัตราการหดขยายตัวด้าน<br />

รัศมีต่ำาย่อมได้ผลลัพธ์ที่ต่ำาลง(หมายถึงการขยายตัว) เมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับการใช้วัสดุไม้ซึ่งผิวด้านหน้ากว้างเป็นระนาบผิวสัมผัสซึ่งอัตราการ<br />

หดขยายตัวสูงกว่า (ระนาบรัศมีปรากฏลายเสี้ยนที่ผิวไม้ลักษณะ<br />

ลายเส้น Straight grain ขณะที่ระนาบผิวสัมผัสปรากฏลายเสี้ยนที่<br />

ผิวไม้ลักษณะลายภูเขา Cathedral grain) โดยรายละเอียดการติดตั้ง<br />

อาจใช้วิธีการจับยึดซึ่งยอมให้วัสดุไม้หดขยายตัวในขนาดและทิศทาง<br />

ที่ควบคุมได้ร่วมด้วย<br />

ทั้งนี้นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงทางขนาดของพื้นไม้ภายนอก<br />

ดังตัวอย่างที่กล่าวมานี้ยังมีอุปสรรคเรื่องการเปลี่ยนแปลงรูปทรงและ<br />

ความทนทานร่วมด้วย การเปลี่ยนแปลงทางรูปทรงของวัสดุไม้ซึ่งเกิด<br />

จากสภาพอากาศส่วนหนึ่งผู้เขียนสรุปเบื้องต้นเพื่อความเข้าใจโดยง่าย<br />

คือ ผลที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของการหดขยายตัวด้านรัศมีและ<br />

ผิวสัมผัสของวัสดุไม้นั้นนั้น จากข้อเท็จจริงเรื่องอัตราการหดขยายตัว<br />

ของวัสดุไม้ทำาให้เข้าใจได้ว่ารูปลักษณะของลายเสี้ยนไม้ที่ผิวหน้าตัดซึ่ง<br />

เกิดการจากการแปรรูปไม้ที่แตกต่างกันย่อมทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

ทางรูปทรงแตกต่างกันด้วยและรูปลักษณะของลายเสี้ยนที่ผิวหน้าตัดนี้<br />

สามารถใช้ในการคาดการณ์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรูปทรงของ<br />

วัสดุไม้นั้นนั้นได้โดยสังเขป กล่าวโดยสรุปว่าวัสดุไม้ซึ่งผ่านกระบวนการ<br />

ลดความชื้นภายใต้สภาวะควบคุมที่เหมาะสมใกล้เคียงกับความชื้นสมดุล<br />

ในสภาพแวดล้อมใช้งานจะลดความเสี่ยงจากความเสียหายและเสื่อม-<br />

สภาพเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของความชื้นในวัสดุไม้อย่างฉับพลัน<br />

ตามธรรมชาติ<br />

การจำาแนกจัดกลุ่มวัสดุไม้เนื้อแข็ง ไม้เนื้อปานกลาง และไม้เนื้ออ่อน<br />

ใช้เกณฑ์ในการจำาแนก 2 ประการ คือ ความทนทานตามธรรมชาติ19<br />

และความแข็งแรงในการดัด 20 ที่ค่าความชื้นในเนื้อไม้ 12%MC ซึ่งอาจ<br />

อธิบายสั้นสั้นเข้าใจง่ายด้วยคำาว่า “ทน-ทาน” ในภาษาไทยโดยความ<br />

ทนหมายถึงอายุการใช้งานโดยคุณสมบัติของตัวเอง ความทานหมายถึง<br />

คุณสมบัติการต้านทานรับแรงกระทำา หรือความแข็งแรงของวัสดุไม้นั้น<br />

ในหนังสือไม้เนื้อแข็งของประเทศไทย โดยสำานักวิจัยการจัดการป่าไม้<br />

และผลิตผลป่าไม้ กรมป่าไม้ ระบุว่าไม้เนื้อแข็งมีความแข็งแรงในการดัด<br />

สูงกว่า 1000 กก./ซม.2 และ ความทนทานตามธรรมชาติสูงกว่า 6 ปี,<br />

Dimensional variation and changes in size occur naturally<br />

in wood materials. Each wood species has a different size<br />

variation due to the shrinkage rate in the radial and tangential<br />

directions of the annual ring. All wood species had a higher<br />

annual ring tangential shrinkage rate than the radius one.<br />

This fact may be used to consider the selection of lumber<br />

and the detailed design of the construction methods to fit<br />

different uses. For example, a common problem caused by<br />

the shrinkage of wooden materials when installing wooden<br />

floors outside the building in direct weather conditions<br />

may cause the wooden floor to swell and bend. It can be<br />

prevented by considering the selection of wood species with<br />

a low shrinkage rate in combination with the characteristics<br />

of lumber whose front surface is a radial plane with a low<br />

shrinkage rate, based on the assumption that the high<br />

amplitude variable multiplied by the constant of a low radial<br />

contraction rate would have a lower result of expansion when<br />

compared to using a wooden material whose front surface is<br />

a tangential plane with a higher contraction rate. (The radial<br />

plane shows a straight grain on the wood surface, while the<br />

tangential plane shows the cathedral grain.) The installation<br />

details may use a clamping method that allows the wood<br />

material to shrink or expand in a controlled size and direction.<br />

In addition to the above-mentioned risks of the exterior<br />

wooden floor shrinking and expanding, there are also risks of<br />

deformation and durability. The weather contributes to the<br />

morphological transformations of timber materials. Simply put,<br />

the result of the relationship between radial and tangential<br />

direction shrinkage of wood materials is that, based on the<br />

shrinkage rate of wood materials, the appearance of the grain<br />

pattern on the cross-sectional surface as a result of different<br />

wood processing will also result in different shape changes.<br />

The appearance of the grain pattern on the cross-sectional<br />

surface can be used to predict the deformation properties of<br />

the timber material. It can be concluded that wood materials<br />

dehumidified under optimally controlled conditions near their<br />

operating environment’s equilibrium humidity will reduce the<br />

risk of damage and deterioration caused by abrupt natural<br />

changes in humidity.<br />

The classification of wood materials into solid, medium, and<br />

soft employs two classification criteria: natural durability<br />

and bending strength at a wood moisture content of 12%<br />

MC, which can be quickly and easily explained in terms of<br />

their durability and endurance. Durability refers to a timber<br />

material’s inherent lifetime, whereas endurance refers to its<br />

resistance to force or its strength. According to the Royal<br />

Forest Department of Thailand’s Bureau of Forest Management<br />

Research and Forest Products, hardwood has bending<br />

strength greater than 1000 kg/cm2 and natural durability<br />

greater than 6 years; medium hardwood has bending strength<br />

between 600 and 1000 kg/cm2 and natural durability

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!