17.09.2020 Views

Total-EPC-Book=180920

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

3-282

1. บทน า

กฎหมายก็มีออกมารองรับ แต่ก็เติบโตไปอย่างช้า ๆ ไม่ค่อยทันต่างประเทศ มา

ในช่วงหลัง ๆ การอนุญาโตตุลาการในประเทศไทยถอยหลังอย่างรุนแรงเมื่อ

หน่วยงานของรัฐแพ้คดีในการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการบ่อย ๆ โดยเฉพาะ

คดีที่มีชื่อเสียงมากคดีหนึ่งที่เรียกกันติดปากว่าคดี “ค่าโง่ทางด่วน” มีผลท าให้

คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2552 ห้ามหน่วยงานของรัฐท าสัญญา

กับเอกชนโดยการให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท หลังจากนี้การ

อนุญาโตตุลาการในประเทศไทยก็ค่อย ๆ เงียบหายไป แม้จะยังมีอยู่บ้างก็แต่

เพียงน้อยนิด

มติของคณะรัฐมนตรีที่ว่านี้ ว่าไว้อย่างนี้

โครงการขนาดใหญ่หรือการให้สัมปทานของรัฐได้มีการตกลงให้ใช้

วิธีการอนุญาโตตุลาการในการระงับข้อพิพาท ส่วนใหญ่หน่วยงานของรัฐจะ

เป็นฝ่ายแพ้คดีหรือเป็นฝ่ายต้องชดใช้ค่าเสียหาย จึงให้ปรับปรุงมติ ครม.

วันที่ 27 มกราคม 2547 ข้อ 1 เป็น “สัญญาทุกประเภทที่หน่วยงานของรัฐ

ท ากับเอกชนในไทยหรือต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นสัญญาทางปกครองหรือไม่

ไม่ควรเขียนผูกมัดในสัญญาให้มอบข้อพิพาทให้คณะอนุญาโตตุลาการเป็นผู้ชี้

ขาด หากมีความจ าเป็น ให้เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติเป็นราย ๆ

ไป”

ข้อความในมติคณะรัฐมนตรีที่ว่า “หากมีความจ าเป็น ให้เสนอ

คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติเป็นราย ๆ ไป” เท่ากับเป็นการห้ามเด็ดขาด เพราะ

ถ้าจะต้องมีความจ าเป็น ต้องขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรี และต้องขออนุมัติเป็น

ราย ๆ ไปด้วย เพราะฉะนั้น หากไม่ใช่เรื่องใหญ่ ส าคัญ และจ าเป็นจริง ๆ คงไม่มี

1-11

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!