28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

และน้ํา) จากผลการศึกษาพบวา การสกัดดวยคารบอน<br />

ไดออกไซดเหนือวิกฤตรวมกับเมธานอลใหผลการสกัดดี<br />

ขึ้นอยางชัดเจน โดยสภาวะในการสกัดที่เหมาะสมคือ 20<br />

เมกะปาสคาล 45 องศาเซลเซียส และ 5 เปอรเซ็นตโดย<br />

ปริมาตรของเมธานอล<br />

NC-006 การสกัดสารแอลฟาโทโคฟรอลและ<br />

แกมมาโอไรซานอลจากรําขาว<br />

พจนทิพย อิ่มสงวน, รัตนสุดา บริรักษ, อมร รวยทรัพยทวี,<br />

สุวัสสา พงษอําไพ, สุภาภรณ ดั๊กกลาส<br />

การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต<br />

แหงประเทศไทย ครั้งที่ 15, 27-28 ตุลาคม 2548,<br />

โรงแรมจอมเทียน ปาลม บีช รีสอรท, พัทยา, จ.ชลบุรี,<br />

หนา 70<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาการสกัดสารแอลฟาโท<br />

โคฟรอลและแกมมาโอไรซานอลจากรําขาว (Oryza<br />

Sativa Linn.) การทดลองแบงออกเปน 4 สวน สวนแรก<br />

เปนการวิเคราะหคุณสมบัติของรําขาว พบวารําขาวที่มี<br />

ขนาดอนุภาคอยูในชวง 297-595 ไมโครเมตรจะมี<br />

ปริมาณมากที่สุด รําขาวมีความชื้นประมาณ 14.01<br />

เปอรเซ็นตโดยน้ําหนักแหง และมีปริมาณไขมัน/น้ํามัน<br />

19.08 เปอรเซ็นตโดยน้ําหนักแหง สวนที่สองเปนการ<br />

สกัดโดยใชคารบอนไดออกไซดเหนือวิกฤต ทําการสกัดที่<br />

อุณหภูมิ 45-65 องศาเซลเซียส ความดัน 38 และ 48<br />

เมกกะปาสคาล อัตราการไหลของคารบอนไดออกไซด<br />

0.45 มิลลิลิตรตอนาที จากผลการทดลองพบวาสภาวะ<br />

เหมาะสมในการสกัดสารแอลฟาโทโคฟรอลคือที่อุณหภูมิ<br />

55 องศาเซลเซียส ความดัน 48 เมกกะปาสคาล ทําการ<br />

สกัดโดยใช Static Extraction รวมกับ Dynamic<br />

Extraction สําหรับสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสาร<br />

แกมมาโอไรซานอล คือที่อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส<br />

ความดัน 48 เมกกะปาสคาล ทําการสกัดโดยใช<br />

Dynamic Extraction เพียงอยางเดียว สวนที่สามเปน<br />

การสกัดดวยตัวทําละลายของเหลวที่อุณหภูมิ 55-60<br />

องศาเซลเซียส จากผลการทดลองพบวา เอทานอลเปนตัว<br />

ทําละลายที่เหมาะสมในการสกัดสารแกมมาโอไรซานอล<br />

และสวนที่สี่เปนการสกัดดวยซอกเล็ตภายใตสภาวะ<br />

สุญญากาศ จากผลการทดลองพบวาสามารถสกัดสาร<br />

แอลฟาโทโคฟรอลและแกมมาโอไรซานอลได 172.23<br />

211<br />

และ 9,808.79 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมรําขาวแหง ตาม<br />

ลําดับ เมื่อเปรียบเทียบการสกัดทั้งสามวิธี พบวาการสกัด<br />

โดยใชคารบอนไดออกไซดเหนือวิกฤตเปนวิธีการสกัดที่<br />

เหมาะสมที่สุด<br />

NC-007 การสกัดสารเอพิคาทิชินจากเปลือกเมล็ด<br />

มะขามโดยเทคนิคฟลูอิดไดเซชัน<br />

สาครินทร ไขศรี, สุภานันต จึงนิจนิรันดร,<br />

พงศกร รามบุตร, สุภาภรณ ดั๊กกลาส, สุวัสสา พงษอําไพ<br />

การประชุมการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 15, 27-28 ตุลาคม 2548, โรงแรม<br />

จอมเทียน ปาลม บีช รีสอรท, พัทยา, จ.ชลบุรี, หนา 71<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการสกัด<br />

สารเอพิคาทิชิน ((-)-Epicatechin, EC) จากเปลือก<br />

เมล็ดมะขาม (Tamarind indica L.) ผลการศึกษา<br />

พบวาความชื้นของเปลือกเมล็ดมะขามมีคาเฉลี่ยเทากับ<br />

10.47 เปอรเซ็นตโดยน้ําหนักแหง การสกัดดวยเครื่อง<br />

ซ็อกเล็ตที่สภาวะสุญญากาศและการสกัดดวยเอทานอลที่<br />

อุณหภูมิหองสามารถสกัดสาร EC ได 407.30 และ<br />

397.55 มิลลิกรัมตอ 100 กรัมของน้ําหนักแหงตาม<br />

ลําดับ สําหรับการสกัดดวยเทคนิคฟลูอิดไดเซซันพบวา<br />

เมื่อลดขนาดอนุภาคของเปลือกเมล็ดมะขามบดและเพิ่ม<br />

อัตราการไหลของเอทานอลจะทําใหสามารถสกัดสาร EC<br />

ไดมากขึ้น นอกจากนั้นยังพบวาสารสกัดโดยการแชเปลือก<br />

เมล็ดมะขามในเอทานอล 1 ชั่วโมงกอนการฟลูอิดไดซจะ<br />

สามารถสกัดสาร EC ไดในปริมาณที่สูงกวาการสกัดโดย<br />

การฟลูอิดไดซอยางเดียวถึง 1.28 เทา<br />

NC-008 การสกัดสารอิพิแกลโลแคทิชินแกลเลตจาก<br />

ชาเขียว<br />

อนุรักษ วินิตสร, กิจจา สามศรีโพธิ์แกว,<br />

สุวิชาญ แพรสมบูรณ, จุมพล ปยางคพลาชัย,<br />

สุภาภรณ ดั๊กกลาส, สุวัสสา พงษอําไพ<br />

การประชุมการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 15, 27-28 ตุลาคม 2548,<br />

โรงแรมจอมเทียนปาลม บีช รีสอรท, พัทยา, จ.ชลบุรี,<br />

หนา 72<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ใน<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!