28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

หนา 575-589<br />

งานวิจัยนี้เปนการนําวัสดุพีวีซีที่ผานการใชงาน<br />

แลว (recycled PVC) กลับมาหมุนเวียนใชใหม โดยนํา<br />

ทั้งพีวีซีชนิดแข็งคือ ทอรอยสายไฟและขวดแชมพู และ<br />

พีวีซีชนิดออนคือ ปกพลาสติก เติมลงในพีวีซีโฟมบริสุทธิ์<br />

ในอัตราสวน 0-100% โดยน้ําหนัก และขึ้นรูปดวย<br />

อุณหภูมิการผสมตางๆ เพื่อศึกษาความเปนไปไดของ<br />

อัตราสวนที่สามารถขึ้นรูปพีวีซีโฟมไดจริงในเบื้องตน จาก<br />

นั้นนําพีวีซีโฟมที่ขึ้นรูปไดไปทดสอบสมบัติทางกล ทาง<br />

กายภาพ ตลอดจนการตรวจสอบโครงสรางทางจุลภาค<br />

สําหรับการนําทอรอยสายไฟขึ้นรูปเปนพีวีซีโฟมแข็งเกร็ง<br />

(rigid PVC foam) พบวา สามารถขึ้นรูปพีวีซีโฟมที่มี<br />

การเติมทอรอยสายไฟไดในชวง 0-60% โดยน้ําหนัก การ<br />

เติมทอรอยสายไฟในปริมาณที่มากขึ้นนั้น ทําใหความหนา<br />

แนนเพิ่มสูงขึ้นและสงผลตอสมบัติทางกลดานความทน<br />

แรงกระแทก ทนแรงดัด และความแข็งเพิ่มขึ้นดวย การนํา<br />

ขวดแชมพูขึ้นรูปเปนโฟมแข็งเกร็ง พบวาสามารถขึ้นรูป<br />

พีวีซีโฟมที่มีการเติมขวดแชมพูไดในชวง 0-60% โดย<br />

น้ําหนัก การเติมขวดแชมพูในปริมาณมากขึ้นจะไมสงผล<br />

ตอสมบัติทางกายภาพและทางกล ยกเวนความทนแรง<br />

กระแทกเพิ่มขึ้นและความแข็งลดลงเล็กนอย สวนดานการ<br />

นําปกพลาสติกขึ้นรูปเปน โฟมออน (soft PVC foam)<br />

พบวาสามารถขึ้นรูปพีวีซีโฟมที่มีการเติมปกพลาสติกได<br />

ในชวง 0-100% โดยน้ําหนัก โดยการเติมปกพลาสติกใน<br />

ปริมาณเพิ่มขึ้นทําใหขนาดเซลลโฟมเฉลี่ยใหญขึ้นและ<br />

สงผลตอสมบัติทางกลดานความทนแรงดึงและความแข็ง<br />

ลดลงดวย จากผลการวิจัยนี้สรุปไดวา สามารถนําวัสดุพีวีซี<br />

ที่ใชงานแลวกลับมาแปรรูปใหเปนผลิตภัณฑโฟมได<br />

NJ-031 สถานภาพและแนวทางการวิจัยพลังงาน<br />

หมุนเวียนในประเทศไทย<br />

วารุณี เตีย, พิมพร แจงพลอย, กังสดาล สกุลพงษมาลี,<br />

สมชาติ โสภณรณฤทธิ์<br />

วารสารราชบัณฑิตยสถาน, ปที่ 30, ฉบับที่ 3,<br />

กรกฎาคม-กันยายน 2548, หนา 659-677<br />

การพัฒนาและขยายการใชพลังงานหมุนเวียน<br />

เปนแนวทางพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืนสําหรับประเทศที่ตอง<br />

นําเขาน้ํามันดังเชนประเทศไทย ดังนั้น ในบทความนี้จะ<br />

65<br />

กลาวถึง ศักยภาพ สถานภาพ และแนวทางงานวิจัยดาน<br />

พลังงานหมุนเวียนของประเทศไทย ไดแก พลังงานแสง<br />

อาทิตย พลังงานลม พลังน้ําขนาดเล็ก พลังงานความรอน<br />

ใตพิภพ และพลังงานจากมหาสมุทร ยกเวนมวลชีวภาพ<br />

ซึ่งไดนําเสนอในบทความที่ผานมาแลว ขอจํากัดหลักของ<br />

การใชพลังงานหมุนเวียน คือ ความไมแนนอน ความไม<br />

สม่ําเสมอของพลังงานหมุนเวียนที่จะนํามาใชประโยชนได<br />

และระบบการเปลี่ยนรูปพลังงานมีประสิทธิภาพต่ํา ทําให<br />

ผลการประเมินทางเศรษฐศาสตรของโครงการสวนใหญ<br />

ไมนาสนใจเมื่อเทียบกับการใชพลังงานเชิงพาณิชย ดังนั้น<br />

จึงควรมีงานวิจัยทางดานการเพิ่มประสิทธิภาพ และการใช<br />

งานไดอยางสม่ําเสมอของระบบที่ใชพลังงานหมุนเวียน<br />

รวมทั้งการลดตนทุน และงานวิจัยเชิงนโยบาย เชน โครง<br />

สรางการกําหนดราคาเชื้อเพลิงที่รวมภาษีดานสิ่งแวดลอม<br />

ดวย<br />

NJ-032 การวิเคราะหและพยากรณการใชไฟฟาใน<br />

ภาคครัวเรือน กรณีศึกษา เมืองพนมเปญ ประเทศ<br />

กัมพูชา<br />

นู โสวันดารา, อภิชิต เทอดโยธิน, บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย<br />

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปที่ 28, ฉบับที่ 2,<br />

เมษายน-มิถุนายน 2548, หนา 127-140<br />

การใชพลังงานไฟฟาในภาคครัวเรือนของเมือง<br />

พนมเปญ ไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในชวงไมกี่ปที่ผานมา<br />

ในการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงคที่จะทําความเขาใจและ<br />

ศึกษาถึงปจจัยตางๆ ที่กอใหเกิดการใชที่เพิ่มขึ้นดังกลาว<br />

พรอมทั้งพยากรณถึงความตองการพลังงานไฟฟาในชวง<br />

10 ปขางหนา ในระหวางป พ.ศ. 2545-2555 โดยการ<br />

พยากรณไดใชวิธี end-use model ซึ่งเปนวิธีที่ใชกันอยาง<br />

แพรหลายเพราะสามารถสะทอนถึงความเปลี่ยนแปลงของ<br />

สังคมออกมาในรูปของการใชพลังงานในอนาคตไดเปน<br />

อยางดี ในงานวิจัยนี้ไดแบงกลุมของบานอยูอาศัยออกเปน<br />

3 กลุม ตามระดับของรายไดของครอบครัว สวนการใช<br />

พลังงานของครัวเรือนหาไดจากการนําผลคูณของจํานวน<br />

ครัวเรือนในแตละกลุม จํานวนอุปกรณไฟฟาเฉลี่ยที่มี<br />

กําลังไฟฟาเฉลี่ยของอุปกรณไฟฟาแตละชนิด และชั่วโมง<br />

การใชงานเฉลี่ยของอุปกรณไฟฟาแตละชนิด ซึ่งพบวา<br />

ปริมาณความตองการไฟฟาในป พ.ศ. 2555 จะมีคา<br />

ระหวาง 1.9 ถึง 2.0 เทาของพลังงานไฟฟาที่ใชในป พ.ศ.<br />

National Journal

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!