28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

ธีรวัฒน สินศิริ, ชัย จาตุรพิทักษกุล,<br />

ปริญญา จินดาประเสริฐ<br />

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปที่ 28, ฉบับที่ 1,<br />

มกราคม-มีนาคม 2548, หนา 17-28<br />

บทความนี้นําเสนอผลกระทบของความ<br />

ละเอียดเถาถานหินตอกําลังอัด ปริมาตรโพรงทั้งหมด<br />

และขนาดโพรงในเพสตที่แข็งตัวแลว โดยนําเถาถานหิน<br />

จากโรงไฟฟาแมเมาะที่ไมไดแยกขนาดมีอนุภาคที่ d 50 เทา<br />

กับ 19.1 ไมครอน และเถาถานหินที่ผานการแยกขนาดมี<br />

อนุภาคที่ d 50 เทากับ 6.41 ไมครอน แทนที่ปูนซีเมนต<br />

ปอรตแลนดประเภทที่ 1 ในอัตราสวนรอยละ 0, 20 และ<br />

40 โดยน้ําหนักของวัสดุประสาน ควบคุมอัตราสวนน้ําตอ<br />

วัสดุประสานใหมีคาเทากับ 0.35<br />

ผลการทดสอบพบวา เพสตที่ผสมเถาถานหิน<br />

แยกขนาดใหกําลังอัดสูงกวาเพสตผสมเถาถานที่ไมไดแยก<br />

ขนาด การแทนที่และความละเอียดของเถาถานหินมีผล<br />

กระทบที่สําคัญตอปริมาตรโพรงทั้งหมดและขนาดโพรง<br />

คาปลลารีของเพสต โดยการแทนที่ปูนซีเมนตปอรตแลนด<br />

ประเภทที่ 1 ดวยเถาถานหินที่ไมไดแยกขนาดในอัตรา<br />

การแทนที่ที่เพิ่มขึ้นสงผลใหปริมาตรโพรงทั้งหมดของ<br />

เพสตเพิ่มขึ้นแตขนาดโพรงคาปลลารีลดลง ขณะที่การ<br />

แทนที่เถาถานหินที่คัดแยกในเพสต ทําใหปริมาตรโพรง<br />

ทั้งหมดและขนาดโพรงคาปลลารีของเพสตลดลงเมื่อ<br />

เทียบกับเพสตที่ผสมเถาถานหินที่หยาบกวา นอกจากนี้ยัง<br />

พบวาปริมาตรโพรงทั้งหมดและขนาดโพรงคาปลลารี<br />

ลดลง เมื่อแทนที่เถาถานหินที่ละเอียดลงในเพสตทุก<br />

ระดับของการแทนที่<br />

NJ-006 การศึกษาคาดัชนีกําลังของมอรตารที่เกิด<br />

จากปฏิกิริยาไฮเดรชัน การอัดตัวของอนุภาค และ<br />

ปฏิกิริยาปอซโซลานของเถาแกลบ-เปลือกไมและ<br />

เถาปาลมน้ํามัน<br />

จตุพล ตั้งปกาศิต, แสวง ทรงหมู, ชัย จาตุรพิทักษกุล,<br />

ไกรวุฒิ เกียรติโกมล<br />

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปที่ 28, ฉบับที่ 4,<br />

ตุลาคม-ธันวาคม 2548, หนา 465-476<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาคาดัชนีกําลังของมอร<br />

ตารที่เกิดจากปฏิกิริยาไฮเดรชัน การอัดตัวของอนุภาค<br />

และปฏิกิริยาปอซโซลานของเถาแกลบ-เปลือกไม และเถา<br />

ปาลมน้ํามัน โดยทําการบดวัสดุปอซโซลานและทรายใหมี<br />

ขนาดใกลเคียงกันสามขนาด คือมีน้ําหนักที่คางบน<br />

ตะแกรงเบอร 325 เทากับรอยละ 5±2, 13.5±2 (ซึ่งเปน<br />

น้ําหนักของปูนซีเมนตปอรตแลนดที่ใชในการศึกษาคาง<br />

บนตะแกรงเบอร 325 เทากับรอยละ 13.5) และ 34±2<br />

ตามลําดับ และนําไปใชแทนที่ปูนซีเมนตปอรตแลนด<br />

ประเภทที่ 1 ในอัตรารอยละ 20 โดยน้ําหนักของวัสดุ<br />

ประสาน เพื่อหลอตัวอยางมอรตาร โดยมีคาการไหลแผ<br />

อยูในชวงรอยละ ±5 ของมอรตารควบคุม และทดสอบ<br />

กําลังอัดที่อายุ 3 7 14 28 60 และ 90 วัน ตามลําดับ<br />

การศึกษาพบวาการแทนที่ปูนซีเมนตดวยทราย<br />

บดละเอียดที่มีน้ําหนักที่คางบนตะแกรงเบอร 325 เทากับ<br />

รอยละ 5±2 และ 34±2 ทําใหมีคาดัชนีกําลังที่เกิดจาก<br />

การอัดตัวของอนุภาคเพิ่มขึ้นรอยละ 2 และลดลงรอยละ<br />

3 ตามลําดับ สวนคาดัชนีกําลังที่เกิดจากปฏิกิริยาไฮเดร<br />

ชันของมอรตารที่แทนที่ดวยทรายบดละเอียดรอยละ 20<br />

ซึ่งมีน้ําหนักคางบนตะแกรงเบอร 325 เทากับปูนซีเมนต<br />

ปอรตแลนด พบวามีคาเทากับรอยละ 80 สําหรับคาดัชนี<br />

กําลังที่เกิดจากปฏิกิริยาปอซโซลานของเถาแกลบ-เปลือก<br />

ไมและเถาปาลมน้ํามันที่มีอนุภาคคางบนตะแกรงเบอร<br />

325 เทากับรอยละ 5±2 มีคาเทากับรอยละ 11 และ 5 ที่<br />

อายุ 3 วัน รอยละ 20 และ 18 ที่อายุ 28 วัน และเพิ่มขึ้น<br />

เปนรอยละ 25 และ 23 ที่อายุ 90 วัน ตามลําดับ<br />

NJ-007 เทคนิคการหาตําแหนงของจุดดัชนีโดย<br />

อัตโนมัติบนภาพถายทางอากาศเชิงเลข<br />

ธีระ ลาภิศชยางกูร<br />

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัย<br />

มหาสารคาม, ปที่ 24, ฉบับที่ 2, เมษายน-มิถุนายน<br />

2548, หนา 86-94<br />

การหาตําแหนงศูนยกลางของจุดดัชนีในอดีตจะ<br />

กระทําดวยมือโดยกําหนดบนภาพเองเลย แตในปจจุบัน<br />

กระบวนการหาคาพิกัดของจุดดัชนีสามารถกระทําไดโดย<br />

อัตโนมัติดวยคอมพิวเตอร ซึ่งทําใหไดผลที่มีความ<br />

ละเอียดและถูกตองกวาการกําหนดดวยมือ ในบทความวา<br />

ดวยการหาตําแหนงศูนยกลางของจุดดัชนีโดยอัตโนมัตินี้<br />

นําเสนอวิธีการ 4 วิธี คือ วิธีการวัดศูนยกลางของจุดศูนย<br />

ถวง (Center of Gravity Method) วิธีลีสทสแควร<br />

55<br />

National Journal

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!