28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

356<br />

ทรัพยากรที่มีในพื้นที่ภาคกลางตอนลาง และเชื่อมโยงกับ<br />

แผนยุทธศาสตรจังหวัดและกลุมจังหวัด เพื่อใหเกิดการ<br />

บูรณาการการพัฒนาอยางเปนระบบ โดยเฉพาะดาน<br />

อาหารแปรรูปพื้นบานและการเกษตรเปนประเด็นสําคัญที่<br />

เปนความตองการของพื้นที่จึงกําหนดใหเปนแผนงานวิจัย<br />

ที่ประกอบ 2 กลุม และดําเนินงานวิจัยตั้งแตป 2547-<br />

2548 คือ<br />

1. กลุมงานวิจัยดานอาหารแปรรูปพื้นบาน เกิด<br />

จากปญหาดานการยกระดับมาตรฐานสินคา การควบคุม<br />

คุณภาพของผลิตภัณฑชุมชนใหไดมาตรฐานการ<br />

ปฏิบัติการแปรรูปที่ดี (Good Manufacturing Pratice:<br />

GMP) การสรางมูลคาเพิ่ม และการขยายตลาดการสง<br />

ออก เพื่อเพิ่มศักยภาพดานการตลาดของผลิตภัณฑชุมชน<br />

และตรงกับแผนยุทธศาสตรของหลายจังหวัดในภาคกลาง<br />

ตอนลางดานอาหารปลอดภัย และเปนแหลงผลิตอาหารสู<br />

ครัวโลก ซึ่งมีงานวิจัยที่ศึกษาเพื่อแกปญหา ไดแก<br />

- การพัฒนาขนมชอมวงแชแข็งเพื่อการสงออก<br />

- กระบวนการแปรรูปปลาเทศครบวงจร ในเขต<br />

ชุมชนบางขุนเทียน<br />

- การวิจัยการประยุกตใชเอนไซมเอมีนออก<br />

ซิเดสจากพืชพื้นบาน เพื่อลดสารประกอบเอมีนใน<br />

ผลิตภัณฑอาหารหมักไทย<br />

2. กลุมงานวิจัยดานการเกษตร เกิดจากปญหา<br />

ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ํา การจัดระบบการ<br />

เกษตรกรรมและระบบฟารมที่ไดมาตรฐานการปฏิบัติทาง<br />

การเกษตรที่ดี (Good Agricultural Pratice: GAP)<br />

การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ การเพิ่มมูลคา<br />

ผลิตภัณฑสินคาทางการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ<br />

ขาดความรูและจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรม<br />

ชาติ การปลูกทดแทนเพื่อแกปญหาการขาดแคลนใน<br />

อนาคต ปญหาดานสิ่งแวดลอมจากของเสียและน้ําทิ้งที่<br />

ปลอยจากฟารมปศุสัตวและโรงงานอุตสาหกรรม มีงาน<br />

วิจัยที่แกปญหาดังนี้ ไดแก<br />

- งานวิจัยไผศึกษา และกระบวนการผลิต<br />

ผลิตภัณฑหนอไมบรรจุปบ<br />

- การจัดทําระบบฟารมมาตรฐานฟารมโคนม<br />

- การวิจัยและพัฒนาเครื่องกรองน้ําสําหรับการ<br />

เกษตร จังหวัดเพชรบุรี<br />

- การขยายพันธุไผเศรษฐกิจปริมาณมากโดย<br />

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

NC-374 งานวิจัยและพัฒนามะพราวและผลิตภัณฑ<br />

จากมะพราว<br />

ทศพร ทองเที่ยง, สุเมธ ทานเจริญ, นฤมล จียโชค,<br />

ภาวิณี พัฒนจันทร, ทรงพล คูณศรีสุข,<br />

สุพรรณี ฉายะบุตร<br />

การประชุมสัมมนาวิชาการวาดวยเศรษฐกิจชุมชนแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 1, 8-9 ธันวาคม 2548, โรงแรม<br />

เชียงใหมภูคํา, จ.เชียงใหม, หนา P6.3-1<br />

มะพราวจัดเปนพืชที่สัมพันธกับเศรษฐกิจและ<br />

สังคมไทย นอกจากสรางรายไดใหแกเกษตรกรผูปลูกแลว<br />

ยังกอใหเกิดอุตสาหกรรมแปรรูปตอเนื่องเปนสินคาสง<br />

ออกสรางรายไดใหแกประเทศ อีกทั้งยังเปนสวนหนึ่งใน<br />

วิถีชีวิตคนไทยโดยเฉพาะวัฒนธรรมการบริโภค<br />

ปริมาณผลผลิตมะพราวผลของประเทศไทยเมื่อ<br />

เทียบกับตลาดโลก ตั้งแตป พ.ศ. 2542-2547 พบวา<br />

ไทยมีผลผลิตมะพราวผลอยูอันดับที่ 6 คือ 1.45 ลานตัน<br />

ตอป โดยมีอินโดนีเซียเปนผูผลิตมะพราวผลรายใหญที่สุด<br />

15.65 ลานตันตอป รองลงมาเปนฟลิปปนส อินเดีย<br />

บราซิล และศรีลังกา ตามลําดับ ประเทศไทยมีสัดสวนการ<br />

ใชประโยชนจากมะพราวแบงเปนการบริโภคภายใน<br />

ประเทศ รอยละ 60 และรอยละ 40 ใชในอุตสาหกรรม<br />

และสงออก โดยมีผลิตภัณฑที่สําคัญไดแก มะพราวน้ํา<br />

หอมทั้งลูก น้ํามันมะพราว เสนใยมะพราว มูลคารวม<br />

ประมาณ 160 ลานบาทตอป และผลิตภัณฑกะทิจํานวน<br />

หนึ่ง<br />

สถานภาพการผลิตและหวงโซอุปทานของ<br />

มะพราวในพื้นที่ภาคกลางตอนลาง พบวา จังหวัดประจวบ<br />

คีรีขันธเปนแหลงผลิตมะพราวผลสําหรับผลิตกะทิที่สําคัญ<br />

สรางมูลคา 2.33 พันลานบาท จังหวัดสมุทรสงครามเปน<br />

แหลงผลิตน้ําตาลมะพราวที่สําคัญที่สุด มีมะพราวตาล<br />

มูลคา 244 ลานบาท สวนจังหวัดสมุทรสาครเปนแหลง<br />

ผลิตมะพราวออนมากที่สุด คิดเปนมูลคา 152 ลานบาท<br />

มะพราวผล 1 ลูก น้ําหนักเฉลี่ย 2 กิโลกรัม<br />

ราคา 6 บาท หากมีการแปรรูปเปนมะพราวขาว ได<br />

ปริมาณ 0.6 กิโลกรัม ราคา 6.6 บาท ถาแปรรูปเปนกะทิ<br />

ไดปริมาณ 0.5 กิโลกรัม ราคา 12.5 บาท (กรณีกะทิ<br />

UHT) และหากแปรรูปตอเปนน้ํามันมะพราวบริสุทธิ์ ได<br />

ปริมาตร 0.3 ลิตร ราคา 90 บาท และสวนที่เหลือคือ<br />

กะลา น้ํามะพราว ใยมะพราว ผิวดํา และกากมะพราว มี<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!