28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

วิเคราะหแบบจําลองเปรียบเทียบกับผลที่ไดจากการ<br />

ทดลอง พบวาสามารถทํานายอัตราการอบแหง ความชื้น<br />

สุดทายของขาวเปลือกและความชื้นสัมพัทธในของผสม<br />

ระหวางแกลบกับขาวเปลือกไดสอดคลองกับผลการ<br />

ทดลอง<br />

NC-011 อิทธิพลของความหนาแนนและอัตรา<br />

สวนผสมของแกลบตอการอบแหงขาวเปลือก<br />

ภาวิกา วงศแกว, สมเกียรติ ปรัชญาวรากร,<br />

อดิศักดิ์ นาถกรณกุล, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6, “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 507-518<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาผลของอัตราสวนผสม<br />

ระหวางแกลบและขาวเปลือก และผลของ Bulk density<br />

ของแกลบที่มีตอการอบแหงและความชื้นสุดทายของ<br />

ขาวเปลือก การทดลองทําโดยนําขาวเปลือกความชื้น<br />

เริ่มตนประมาณ 33%d.b. ผสมกับแกลบความชื้นตน<br />

ประมาณ 11%d.b. ที่อัตราสวนผสมระหวางแกลบและ<br />

ขาวเปลือก 1:1, 1.5:1 และ 2:1 โดยปริมาตร โดยแกลบ<br />

ที่ใชมีคา Bulk density 105, 160 และ 230 kg/m 3<br />

จากผลการทดลองที่ไดพบวาการเพิ่มอัตราสวนผสมโดย<br />

ปริมาตรระหวางแกลบและขาวเปลือก และการเพิ่ม Bulk<br />

density ของแกลบ จะชวยใหความชื้นของขาวเปลือกลด<br />

ลงไดเร็วกวาการใชอัตราสวนผสมระหวางแกลบและ<br />

ขาวเปลือก และ Bulk density ของแกลบต่ําๆ ที่อัตรา<br />

สวนผสมระหวางแกลบและขาวเปลือกสูงกวา 1.5:1<br />

พบวาอัตราการอบแหงเปลี่ยนแปลงนอยมาก นอกจากนี้<br />

ยังพบวาหลังจากทําการอบแหงเปนระยะเวลานาน 2<br />

ชั่วโมงความชื้นของขาวเปลือกมีแนวโนมไมเปลี่ยนแปลง<br />

ไมวาจะเพิ่มระยะเวลาในการอบแหง เมื่อทดสอบคุณภาพ<br />

ของขาวเปลือกหลังการอบแหง พบวารอยละตนขาวของ<br />

ขาวเปลือกที่ผานการอบแหงมีคาใกลเคียงกับรอยละตน<br />

ขาวอางอิง<br />

NC-012 อิทธิพลของอุณหภูมิที่มีผลตอการอบแหง<br />

และคุณภาพของกระเทียมกลีบ<br />

สุทธิศักดิ์ แกวนก, สมเกียรติ ปรัชญาวรากร,<br />

213<br />

อดิศักดิ์ นาถกรณกุล, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6, “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 566-576<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาถึงอิทธิพลของอุณหภูมิ<br />

ที่มีผลตอการอบแหงและคุณภาพของกระเทียมกลีบปอก<br />

เปลือกพันธุเชียงใหม โดยการอบแหงที่อุณหภูมิ 70 80<br />

และ 90°C และความเร็วของอากาศรอน 1.7 m/s<br />

ความชื้นเริ่มตน และความชื้นสุดทายอยูในชวง 190-<br />

210% d.b. และ 5-7% d.b. ตามลําดับ ผลการทดลอง<br />

พบวาการเปลี่ยแปลงของความชื้นของกระเทียมเปนแบบ<br />

อัตราการอบแหงลดลงแบงไดเปน 2 ชวง โดยทั้งสองชวง<br />

นี้จะถูกแบงดวยความชื้นวิกฤตและอธิบายการเปลี่ยน<br />

แปลงความชื้นของทั้งสองชวงดวยสมการการแพรของน้ํา<br />

ในเนื้อกระเทียม ซึ่งสัมประสิทธิ์การแพรของกระเทียมจะ<br />

มีคาเพิ่มขึ้นเมื ่ออุณหภูมิอบแหงสูงขึ้น นอกจากนี้ยังพบวา<br />

การอบแหงที่อุณหภูมิสูงทําใหการหดตัวนอยลง การ<br />

เปลี่ยนแปลงสีโดยรวมสูงขึ้น และอัตราการลดลงของ<br />

วิตามินซี น้ํามันหอมระเหย และ Pyruvic acid เร็วกวา<br />

การอบแหงที่อุณหภูมิต่ํา<br />

NC-013 ผลของการอบแหงตอสมบัติของขาวกึ่ง<br />

สําเร็จรูป<br />

ชัยยงค เตชะไพโรจน, สมเกียรติ ปรัชญาวรากร,<br />

พัชรี ตั้งตระกูล, พยุงศักดิ์ ทาไมสุข,<br />

สมชาติ โสภณรณฤทธิ์<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 491-498<br />

ขาวกึ่งสําเร็จรูปเริ่มเปนที่นิยม เนื่องจากความ<br />

สะดวกรวดเร็วในการเตรียม วิธีการอบแหงอาจมีผลตอ<br />

คุณภาพของขาวกึ่งสําเร็จรูปที่ผลิต ดังนั้นงานวิจัยนี้มี<br />

วัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของการอบแหงขาวสุกตอการ<br />

หดตัว การเปลี่ยนแปลงสี การคืนรูปและสมบัติเนื้อสัมผัส<br />

ของขาวกึ่งสําเร็จรูป โดยเปรียบเทียบเครื่องอบแหงแบบ<br />

ปมความรอนและอากาศรอน โดยสภาวะที่ใชในการศึกษา<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!