28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

โดยรวมเฉลี่ยลดลงเปน 70 และ 50 เปอรเซ็นต ตาม<br />

ลําดับ โดยความเร็วที่เพิ่มขึ้นดังกลาวไมมีผลตอการหลุด<br />

ออกของสาหรายที่ถูกเก็บกักไวในถังกรอง ปริมาณ<br />

สาหรายในน้ําเขา (influent) ในชวงการทดลองดังกลาว<br />

คือ 35-143 ไมโครกรัมตอลิตร และ 30-327 ไมโคร<br />

กรัมตอลิตร ตามลําดับ และมีปริมาณสาหรายในน้ําออก<br />

(effluent) 13-54 ไมโครกรัมตอลิตร และ 30-262<br />

ไมโครกรัมตอลิตร ตามลําดับ<br />

สวนประสิทธิภาพในการกําจัดความขุนโดยเฉลี่ย<br />

ของทั้งสองอัตราการกรองมีคาประมาณ 70 เปอรเซ็นต<br />

ใกลเคียงกัน และมีความขุนเฉลี่ยในน้ําออก (effluent) 3<br />

NTU นอกจากนั้นคา DO เฉลี่ยในน้ําออกของทุกอัตรา<br />

การกรองมีคาสูงกวา 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

NC-106 การยอยสลายโพรไพออเนตในถังปฏิกรณที่<br />

บําบัดน้ําเสียน้ําตาลภายใตสภาวะไรอากาศ<br />

เกียรติสุดา กาญจนภรางกูร, ศักดิ์ชัย สุริยจันทราทอง,<br />

สาโรช บุญยกิจสมบัติ<br />

การประชุมวิชาการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ครั้งที่ 4,<br />

19-21 มกราคม 2548, โรงแรมแอมบาสซาเดอรซิตี้<br />

จอมเทียน, จ.ชลบุรี, หนา 130-138<br />

เปนที่ทราบกันดีวาน้ําทิ้งซึ่งมีคาซีโอดีสูงของ<br />

ระบบบําบัดแบบไรอากาศเนื่องจากการสะสมของโพรไพ<br />

ออเนตนั้น สามารถแกไขไดยากเมื่อเทียบกับการเกิด<br />

ปญหาจากการสะสมของอะซิเทตและ/หรือบิวทิเรต<br />

งานวิจัยนี้ศึกษาผลของการเติมสารอาหารเสริม (สารสกัด<br />

จากยีสต) การเติมแบคทีเรียกลุมใชอะซิเทต และ<br />

แบคทีเรียกลุมใชฟอรเมต และชนิดของถังปฏิกรณตอการ<br />

ยอยสลายโพรไพออเนตในถังปฏิกรณที่รับน้ําเสีย<br />

สังเคราะหน้ําตาล และศึกษาผลของชนิดถังปฏิกรณตอ<br />

การบําบัดน้ําเสียสังเคราะหโพรไพออเนต ผลการทดลอง<br />

พบวา การเติมสารสกัดจากยีสตความเขมขน 100<br />

มิลลิกรัมตอลิตร และการเพิ่มมวลของเชื้อแบคทีเรียสราง<br />

มีเทนกลุมใชอะซิเตต 25 เปอรเซ็นต และเชื้อแบคทีเรีย<br />

สรางมีเทนกลุมใชฟอรเมต 50 เปอรเซ็นต ของมวลเดิมที่<br />

มีในระบบกวนสมบูรณแบบปอนสารอาหารน้ําตาลวันละ<br />

ครั้งนั้นไมสามารถลดการสะสมของโพรไพออเนตและไม<br />

สามารถลดคาซีโอดีในน้ําทิ้งได อยางไรก็ตามการปรับ<br />

เปลี่ยนชนิดของถังปฏิกรณจากถังปฏิกรณแบบกวน<br />

247<br />

สมบูรณเปนถังปฏิกรณแบบไหลขึ้นนั้น สามารถแกไข<br />

ปญหาการสะสมของโพรไพออเนตในน้ําทิ้งและลดคาซีโอ<br />

ดีในน้ําทิ้งได ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากมวลของแบคทีเรีย<br />

ระบบแบบไหลขึ้นมีประมาณ 5 เทาของมวลในระบบกวน<br />

สมบูรณ<br />

NC-107 การศึกษาความเปนไปไดของการนํากาก<br />

ตะกอนจากระบบบําบัดน้ําเสียอุตสาหกรรม<br />

กระดาษมาใชประโยชนในกระบวนการผลิต<br />

ปูนซีเมนต<br />

สุจินันท ยิ้มคมขํา, เกรียงไกร สุขแสนไกรศร,<br />

ศักดิ์ชัย สุริยจันทราทอง<br />

การประชุมวิชาการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ครั้งที่ 4,<br />

19-21 มกราคม 2548, โรงแรมแอมบาสซาเดอรซิตี้<br />

จอมเทียน, จ.ชลบุรี, หนา 688-696<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาความเปนไปไดทางดาน<br />

เทคนิคและความเปนไปไดทางดานการเงินของการนํากาก<br />

ตะกอนจากระบบบําบัดน้ําเสียอุตสาหกรรมกระดาษใน<br />

ประเทศไทยมาใชประโยชนในกระบวนการผลินปูนซีเมนต<br />

ซึ่งศึกษาเฉพาะกากตะกอนจากโรงงานผลิตกระดาษพิมพ<br />

เขียนและกระดาษคราฟท โดยการศึกษาความเปนไปได<br />

ทางดานเทคนิคเปนการศึกษาความสอดคลองของ<br />

คุณสมบัติกากตะกอนกับกระบวนการกําจัดกากของเสีย<br />

อุตสาหกรรม ในเตาเผาปูนซีเมนตและการศึกษาความ<br />

เปนไปไดทางดานการเงินเปนการคํานวณเปรียบเทียบ<br />

คาใชจายที่เกิดจากการนํากากตะกอนมาใชประโยชนใน<br />

กระบวนการผลิตปูนซีเมนตกับคาใชจายจากการกําจัดกาก<br />

ตะกอนโดยวิธีการฝงกลบ จากการศึกษาพบวากากตะกอน<br />

ไมเขาขายกากของเสียอุตสาหกรรมที่โรงงานปูนซีเมนตไม<br />

สามารถรับกําจัดได โดยสามารถนํากากตะกอนมาใช<br />

ประโยชนเปนเชื้อเพลิงทดแทนเชื้อเพลิงปจจุบันที่โรงงาน<br />

ปูนซีเมนตใชอยู คือ ลิกไนต เนื่องจากกากตะกอนมีคา<br />

ความรอนประมาณ 1,200-1,600 แคลอรีตอกรัม และ<br />

กากตะกอนมีแคลเซียมเปนองคประกอบปริมาณ 21.97<br />

เปอรเซ็นต จึงสามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบทดแทน<br />

วัตถุดิบหลักในกระบวนการผลิตปูนซีเมนตคือ หินปูน ซึ่ง<br />

มีแคลเซียมเปนองคประกอบไดบางสวน เมื่อเปรียบเทียบ<br />

คาใชจายจากการนํากากตะกอนมาใชประโยชนใน<br />

กระบวนการผลิตปูนซีเมนตกับคาใชจายจากวิธีการฝง<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!