28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

enzyme จาก Bacillus sp. C-1 ที่เพาะเลี้ยงในไซแลน<br />

ขณะที่ crude enzyme จาก B. firmus K-1 ที่เพาะเลี้ยง<br />

ในกาแลคโตแมนแนนยอยเยื่อยูคาลิปตัสและเยื่อสนไดดี<br />

กวา crude enzyme ชนิดอื่น<br />

NJ-053 อัลคาไลนอะไมเลสจาก alkaliphilic<br />

Bacillus sp. SS-8 และสมบัติตางๆ ของเอนไซม<br />

สุวรรณา ศักดิ์ดาสถาพร, ธนภัทร สายเจริญ, คิน เลย คู,<br />

กนก รัตนะกนกชัย<br />

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปที่ 28, ฉบับที่ 1,<br />

มกราคม-มีนาคม 2548, หนา 59-73<br />

จากการคัดเลือกเชื้อ alkaliphilic Bacillus 27<br />

สายพันธุที่ผลิตเอนไซมอะไมเลสในสภาวะเปนดาง โดย<br />

พิจารณาจากความสามารถของอะไมเลสในการยอยแปง<br />

ดิบ รวมถึงการทดสอบประสิทธิภาพของอะไมเลสในการ<br />

ทํางานในสภาวะที่มีสารซักลางชนิดตางๆ พบวา อะไมเลส<br />

จาก alkaliphilic Bacillus sp. SS-8 มีศักยภาพสูงสุด<br />

เมื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตอะไมเลสพบวา<br />

สภาวะที่เหมาะสมคือ pH เริ่มตนเทากับ 11 อุณหภูมิ 37<br />

°ซ. ในอาหารเหลวที่มีแปงมันสําปะหลังดิบ 1.5 กรัม/<br />

100 มิลลิลิตร เปนแหลงคารบอน เวลาที่เหมาะสมในการ<br />

ผลิต อะไมเลสของ Bacillus sp. SS-8 อยูในชวง<br />

stationary phase ที่เวลาประมาณ 42-60 ชั่วโมง<br />

ปริมาณเซลลการผลิตอะไมเลส และการผลิตโปรตีนเพิ่ม<br />

ขึ้นแปรผันตามกัน แสดงวาการผลิตอะไมเลสนาจะเปน<br />

แบบ growth-as-sociated enzyme นอกจากนี้พบวา<br />

การเลี้ยงเชื้อ Bacillus sp. SS-8 ในสภาวะที่ไมผานการ<br />

นึ่งฆาเชื้อไมเกิดการปนเปอนจากจุลินทรียชนิดอื่น สภาวะ<br />

ที่เหมาะสมตอการทํางานของ crude amylase คือ pH<br />

ระหวาง 7-12 และ อุณหภูมิ 50 °ซ. ขณะที่เอนไซมมี<br />

เสถียรภาพตอ pH และอุณหภูมิในชวงกวางระหวาง pH<br />

7-10 และอุณหภูมิ 30-50 °ซ. เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

crude amylase จาก Bacillus sp. SS-8 สามารถยอย<br />

แปงดิบ โดยยอยแปงสาลีไดดีที่สุด รองลงมาเปนแปงขาว<br />

เจา แปงขาวโพด และแปงมันสําปะหลัง แตยอยแปงพุทธ<br />

รักษาและแปงสาคูไดนอยมาก<br />

NJ-054 แปงพุทธรักษากินได (Canna edulis) ดัด<br />

แปรดวยวิธีแอซิทิเลชัน<br />

สิริรัตน สอาดรัตน, ดุษฎี อุตภาพ, จุรีรัตน พุดตาลเล็ก,<br />

วิไล รังสาดทอง<br />

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปที่ 28, ฉบับที่ 1,<br />

มกราคม-มีนาคม 2548, หนา 87-102<br />

งานวิจัยนี้ศึกษาการดัดแปรแปงที่สกัดจากเหงา<br />

พุทธรักษากินได (Canna edulis) พันธุญี่ปุนเขียว ดวย<br />

วิธีแอซิทิเลชัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลดการคืนตัวและ<br />

เพิ่มความคงตัวของเจลแปง จากการดัดแปรแปงพุทธ<br />

รักษากินไดดวยแอซิติกแอนไฮไดรดรอยละ 5, 7 และ 9<br />

โดยน้ําหนักแปงแหง ที่อุณหภูมิ 25 °ซ และควบคุม pH<br />

ใหอยูในชวง 8.0-8.5 พบวา แปงดัดแปรที่ไดมีปริมาณ<br />

หมูแอซิทิลรอยละ 1.53, 2.09 และ 2.53 เมื่อตรวจสอบ<br />

ลักษณะเม็ดแปงดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบแสง<br />

สองกราด แปงดัดแปรมีขนาดและรูปรางเหมือนกับแปงที่<br />

ไมผานการดัดแปร การศึกษาพฤติกรรมความหนืดของ<br />

เจลแปงดวยเครื่อง Rapid Visco Analyzer ที่ความเขม<br />

ขนของน้ําแปงรอยละ 6 พบวาแปงดัดแปรมีอุณหภูมิเริ่ม<br />

เกิดความหนืดลดลง 6 องศาเซลเซียส ความหนืดสูงสุด<br />

ลดลงเล็กนอย และคา set-back มีคาลดลงรอยละ 35-<br />

43 เมื่อเทียบกับแปงที่ไมผานการดัดแปร รูปแบบการ<br />

เปลี่ยนแปลงความหนืดของแปงดัดแปรในชวงความเร็ว<br />

รอบในการกวน 160-480 รอบตอนาที และ pH 2.6-<br />

6.8 มีลักษณะที่คลายคลึงกับแปงที่ไมผานการดัดแปร<br />

นอกจากนี้พบวาแปงดัดแปรมีคาความแข็งลดลงอยางมาก<br />

จาก 2,392 กรัม เปน 197, 192 และ 205 กรัม เมื่อมี<br />

ปริมาณหมูแอซิทิลเปนรอยละ 1.53, 2.09 และ 2.53<br />

ตามลําดับ ผลการทดลองที่ไดจากการวัดคารอยละการ<br />

แยกตัวจากเจลแปงในชวงการแชเยือกแข็งและการละลาย<br />

สนับสนุนวา การดัดแปรแปงพุทธรักษากินไดดวยวิธีแอ<br />

ซิทิเลชันสามารถลดการคืนตัวของแปงได<br />

School of Liberal Arts<br />

NJ-055 DOING CORPUS RESEARCH<br />

ริชารด วัตสัน ทอดด<br />

ThaiTESOL FOCUS, ปที่ 18, ฉบับที่ 1, พฤษภาคม<br />

2548, หนา 16-19<br />

Perhaps the biggest growth area in<br />

linguistics in the last twenty years has been the<br />

use of corpus-based data. A corpus is “a large<br />

73<br />

National Journal

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!