28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

260<br />

ครั้งที่ 43, 1-4 กุมภาพันธ 2548, มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ<br />

ฟลมบางหลายชั้นที่ใหคาการปลดปลอยรังสีต่ํามี<br />

สมบัติที่สําคัญ คือ มีการสงผานแสงในชวงตามองเห็น<br />

(0.38-0.78 ไมครอน) และสามารถสะทอนแสงในชวง<br />

อินฟราเรดใกล (0.8-2.1 ไมครอน) ไดดี และใหคาการ<br />

ปลดปลอยรังสีต่ําในชวงคลื่นความรอน (3-30 µm)<br />

รายงานนี้เสนอผลการศึกษาการเคลือบระบบฟลม<br />

2 รูปแบบคือ (1) ระบบฟลมเงินชั้นเดียว Glassdielectric-Ag-Ti-dielectric<br />

และ (2) ระบบฟลมเงิน<br />

สองชั้ น glass-Ag-Ti-dielectric-Ag-Ti-dielectric<br />

โดยฟลม dielectric คือ ซิงคออกไซด (ZnO) และไททา<br />

เนียมไดออกไซด (TiO 2 ) ซึ่งระบบฟลมดังกลาวถูกเคลือบ<br />

ลงบนกระจกสไลดและกระจกอาคารโดยเทคนิคดีซีพัลส<br />

แมกนี ตรอนสปตเตอริง และศึกษาหาเงื่อนไขการเคลือบ<br />

ที่เหมาะสมของแตละชั้นฟลมโดยนําระบบฟลมมา<br />

วิเคราะหสมบัติการสงผานแสง การสะทอนแสง และคา<br />

การปลดปลอยรังสี ในชวงความหนาที่เหมาะสมของชั้น<br />

ฟลม พบวาระบบฟลมเงินชั้นเดียวใหคาเฉลี่ยการสงผาน<br />

แสงในชวงตามองเห็น (%T VIS ) 62-84% คาเฉลี่ยการ<br />

สะทอนแสงในชวงอินฟราเรดใกล (%R NIR ) 34-77%<br />

และคาการปลดปลอยรังสี (E) 0.6-0.14 และระบบฟลม<br />

เงินสองชั้นใหคาเฉลี่ยการสงผานแสงในชวงตามองเห็น<br />

38-72% คาเฉลี่ยการสะทอนแสงในชวงอินฟราเรดใกล<br />

53-95% และคาการปลดปลอยรังสี 0.04-0.05 ตาม<br />

ลําดับ<br />

NC-142 การสรางและพัฒนาเครื่องมือทดสอบคา<br />

การสูญเสียในแกนเหล็กของหมอแปลงไฟฟา<br />

ระหวางการผลิต<br />

จุฑามาศ จันทรวิจิตรกุล, วัชระ เลี้ยวเรียบ,<br />

สุพัฒนพงษ ดํารงรัตน, ตวงรักษ นันทวิสารกุล<br />

การประชุมวิชาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ครั้งที่ 4,<br />

16 มีนาคม 2548, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ศูนย<br />

รังสิต), กรุงเทพฯ<br />

งานวิจัยนี้ไดพัฒนาสรางเครื่องมือทดสอบคา<br />

การสูญเสียในแกนเหล็กของหมอแปลงไฟฟากอนการพัน<br />

ขดลวดและบรรจุลงถัง โดยเปลี่ยนจากการพันขดลวดรอบ<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

แกนทีละรอบเปนการเสียบสายตอขั้วไฟฟาดวยอุปกรณ<br />

ไฮโดรลิกสตามจํานวนรอบที่ตองการพันในครั้งเดียว และ<br />

ใชสวิทชรีเลยปรับจํานวนรอบขดลวด จึงประหยัดเวลาใน<br />

การพันขดลวดรอบแกนเหล็กลงไดมาก ดวยขดลวดที่<br />

สรางขึ้นมีวงใหญเพื่อใหคลองวัดคาการสูญเสียในแกน<br />

เหล็กของหมอแปลงไดหลายขนาด จึงมีฟลักซแมเหล็กรั่ว<br />

ออกนอกแกนเหล็กมากกวาปกติและขดลวดยังมีความ<br />

ตานทานสูงขึ้น ทําใหแรงดันไฟฟาตกครอมขดลวดปฐม<br />

ภูมิสูงกวาปกติ จึงแกไขโดยจายแรงดันเพิ่มเพื่อแกคา<br />

แรงดันตกครอมในอิมพีแดนซของขดลวดปฐมภูมิ และทํา<br />

ใหฟลักซแมเหล็กในแกนเหล็กมีคาเทากับขณะที่ใชงาน<br />

นอกจากนี้คาการสูญเสียที่วัดไดจากวัตตมิเตอรตองนํามา<br />

หักลบดวยคาการสูญเสียในขดลวดทองแดงที่สรางเปน<br />

ขดลวดปฐมภูมิ ภายหลังการแกคาพบวาคาการสูญเสียใน<br />

แกนเหล็กที่วัดไดตางจากกรณีการพันขดลวดแนบแกน<br />

เหล็กมีคาไมเกิน 0.6% และใชเวลาตรวจสอบลดลงจาก 1<br />

ชั่วโมงเหลือเพียง 3 นาทีเทานั้น จึงทําใหประหยัดเวลา<br />

และคาใชจายลงมาก<br />

NC-143 การหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการอบแหง<br />

ขาวเปลือกเพื่อหาปริมาณความชื้น<br />

ดนุพล ผุดผาด, พจวรรณ ยองประยูร, วราชัย ไตรอรุณ,<br />

ประสาทพร จงรุจา, สุพัฒนพงษ ดํารงรัตน,<br />

ตวงรักษ นันทวิสารกุล<br />

การประชุมวิชาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ครั้งที่ 4,<br />

16 มีนาคม 2548, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ศูนย<br />

รังสิต), กรุงเทพฯ<br />

วิธีการวัดหาความชื้นของธัญพืชที่แมนยําที่สุด<br />

คือวิธีการอบแหงดวยความรอน ตามมาตรฐาน ISO 712<br />

ซึ่งอบแหงที่อุณหภูมิ 130 องศาเซลเซียส เปนเวลา 2<br />

ชั่วโมง ในงานวิจัยไดนําวิธีอบแหงนี้มาใชกับขาวเปลือก 8<br />

พันธุ โดยขยายเวลาอบแหงเปน 6 ชั่วโมง เพื่อหาเวลาอบ<br />

ที่เหมาะสมของขาวเปลือกไทย การทดลองแตละชุดจะใช<br />

ขาวเปลือกจํานวน 30 ตัวอยาง ตัวอยางละประมาณ 5<br />

กรัมมาอบพรอมกันในเตาอบที่อุณหภูมิ 130±3 องศา<br />

เซลเซียส ในแตละชั่วโมงจะนําขาวออกจากเตาอบ 5 ถวย<br />

เพื่อหาปริมาณความชื้นเฉลี่ยที่สูญเสียไป พบวา<br />

ขาวเปลือกที่อบเปนเวลา 1, 2, 3 และ 5 ชั่วโมง จะ<br />

สูญเสียความชื้นประมาณ 88%, 96%, 98% และ<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!