28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

สัดสวน 29%, 25% และ 24% ตามลําดับ สวนหอพักชาย<br />

มีการใชพลังงานไฟฟาเฉลี่ย 10,978 kWh ตอเดือน ใช<br />

ในการสื่อสารมากที่สุด ถึง 40% รองลงมาคือใชในการทํา<br />

ความเย็น 25% ใชในการใหความบันเทิง 24% จากขอมูล<br />

การสํารวจ เมื่อนํามาวิเคราะหการใชพลังงานจําเพาะของ<br />

หอพักหญิงและหอพักชาย พบวา ปริมาณการใชพลังงาน/<br />

ตรม./เดือน เทากับ 6.41 kWh และ 4.9 kWh ตาม<br />

ลําดับ และปริมาณการใชพลังงาน/คน/เดือน เทากับ<br />

51.34 kWh และ 41.58 kWh ตามลําดับ จากการเดิน<br />

สํารวจเห็นวา ยังมีชองทางที่จะจัดการพลังงานในหอพักนี้<br />

โดยไดใหขอเสนอแนะดังนี้ ควรมีการปรับปรุงหองดู<br />

โทรทัศนรวม เพื่อลดการใชโทรทัศนในแตละหองลง และ<br />

ยังเปนการสรางสัมพันธภาพที่ดีตอกันระหวางนักศึกษา<br />

สนับสนุนใหมีกิจกรรมที่กระตุนความสนใจเรื่องการ<br />

ประหยัดพลังงานอยางตอเนื่อง โดยการจัดอบรมหรือให<br />

ความรูเรื่องการประหยัดพลังงานอยางจริงจัง หรือมีการ<br />

จัดบอรดประชาสัมพันธภายในหอพัก เปนตน<br />

NC-257 ลักษณะของการอบแหงกุงดวยเทคนิควิธี<br />

การอบแหงแบบสองขั้นตอนในสภาวะการอบแหงที่<br />

แตกตาง<br />

ยุวนารี นามสงวน, วารุณี เตีย,<br />

สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”, 30-<br />

31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด, กรุงเทพฯ,<br />

หนา 620-629<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเสนอเทคนิควิธีการ<br />

อบแหงแบบสองขั้นตอน คือ การอบแหงกุงดวยไอน้ํารอน<br />

ยวดยิ่งตามดวยปมความรอน (SSD/HPD) สภาวะการ<br />

อบแหงที่ทําการศึกษาคือ อุณหภูมิอบแหงในชวงแรกดวย<br />

ไอน้ํารอนยวดยิ่งที่ 160°C-180°C และความชื้นที่ดึง<br />

ออกจากเครื่องอบแหงแบบใชไอน้ํารอนยวดยิ่งอยูที่<br />

ประมาณ 30-40% w.b. แลวอบแหงชวงที่สองดวยปม<br />

ความรอนที่อุณหภูมิ 50°C โดยศึกษาจลนศาสตรของการ<br />

อบแหงและคุณภาพของกุงหลังการอบแหง และทําการ<br />

เปรียบเทียบกับการอบแหงกุงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งเพียง<br />

อยางเดียว (SSD) ที่เงื่อนไขอุณหภูมิไอน้ํารอนยวดยิ่งเทา<br />

กัน คุณภาพของกุงแหงที่ทําการศึกษาคือ การหดตัว สี<br />

305<br />

และเนื้อสัมผัส จากการทดลองพบวา การอบแหงกุงที่<br />

สภาวะอุณหภูมิไอน้ํารอนยวดยิ่งสูงขึ้นและการเปลี่ยน<br />

ขั้นตอนการอบแหงที่ความชื้นสูง มีผลดีเฉพาะคุณภาพสี<br />

ในการอบแหงกุงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งตามดวยปมความ<br />

รอน สวนการหดตัวนั้นมากขึ้นและเนื้อสัมผัสของกุง<br />

เหนียวและแข็งขึ้น และพบวากุงแหงที่ไดจากการอบแหง<br />

ดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งตามดวยปมความรอน มีการหดตัว<br />

นอยลง คุณภาพสีดีขึ้น เนื้อไมเหนียวและไมแข็ง เมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับการอบแหงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งเพียง<br />

อยางเดียว<br />

NC-258 สถานภาพและแนวทางการวิจัยพลังงาน<br />

หมุนเวียนในประเทศไทย<br />

วารุณี เตีย, พิมพร แจงพลอย, กังสดาล สกุลพงษมาลี,<br />

สมชาติ โสภณรณฤทธิ์<br />

การประชุมวิชาการเครือขายพลังงานแหงประเทศไทย<br />

ครั้งที่ 1, 11-13 พฤษภาคม 2548, โรงแรมแอมบาส-<br />

เดอร ซิตี้ จอมเทียน, จ.ชลบุรี, หนา 39-56<br />

พิธีสารเกียวโตเริ่มมีผลบังคับใช ประเทศไทย<br />

เสี่ยงตอการถูกจัดใหอยูในกลุมประเทศที่มีพันธกรณี<br />

จะตองลดปริมาณการปลอยแกสเรือนกระจก เนื่องจาก<br />

การใชพลังงานไมมีประสิทธิภาพ ไมประหยัด และใช<br />

พลังงานหมุนเวียนนอย ทําใหการปลอยแกสเรือนกระจก<br />

ตอประชากรของไทยมีคาเขาใกลคาเฉลี่ยของโลกในปฐาน<br />

(พ.ศ. 2533) ในบทความนี้จะกลาวถึงพลังงานหมุนเวียน<br />

ประเภทตางๆ เชน พลังงานมวลชีวภาพ พลังงานแสง<br />

อาทิตย พลังงานลม พลังน้ําขนาดเล็ก พลังความรอนใต<br />

พิภพ และพลังงานจากมหาสมุทร โดยลําดับจาก<br />

ศักยภาพ สถานภาพการใช และแนวทางวิจัยในอนาคต<br />

NC-259 ศักยภาพการนําระบบ Cogeneration และ<br />

Absorption Chiller มาใชในศูนยการคา<br />

สมมาส แกวลวน, จุลละพงษ จุลละโพธิ<br />

การประชุมวิชาการเครือขายพลังงานแหงประเทศไทย<br />

ครั้งที่ 1, 11-13 พฤษภาคม 2548, โรงแรมแอมบาส-<br />

ซาเดอร ซิตี้ จอมเทียน, พัทยา, จ.ชลบุรี, หนา 244-249<br />

งานวิจัยนี้ไดศึกษาถึงศักยภาพการนําระบบ<br />

cogeneration มาใชรวมกับ absorption chiller ใน<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!