28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

298<br />

NC-238 จลนพลศาสตรการคืนตัวของทุเรียนอบแหง<br />

จินดาพร จํารัสเลิศลักษณ, อดิศักดิ์ นาถกรณกุล,<br />

สมชาติ โสภณรณฤทธิ์, สมเกียรติ ปรัชญาวรากร<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 483-490<br />

เนื่องจากผลิตภัณฑอบแหง เชน ธัญพืชสําหรับ<br />

รับประทานเปนอาหารเชา และผลไมอบแหงที่ใชผสมใน<br />

ธัญพืชสําหรับรับประทานเปนอาหารเชา ตองนําไปแชนม<br />

ระหวางการบริโภค ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมการคืนรูป<br />

ของผลิตภัณฑอบแหงระหวางกระบวนการดูดซับนม<br />

ดังกลาวจึงเปนสิ่งที่สําคัญ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ<br />

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงความชื้นของทุเรียนซึ่งผานการ<br />

อบแหงดวยอากาศรอนและไอน้ํารอนยวดยิ่งที่อุณหภูมิ<br />

130-150 °C โดยการนําทุเรียนอบแหงดังกลาวแชในนม<br />

สดพรองมันเนยที่อุณหภูมิ 15-40 °C จากการทดลอง<br />

พบวา ผลิตภัณฑที่ผานการอบแหงที่อุณหภูมิสูงสามารถ<br />

คืนรูปไดดีกวาผลิตภัณฑที่ผานการอบแหงที่อุณหภูมิต่ํา<br />

การอบแหงดวย ไอน้ํารอนยวดยิ่งใหผลิตภัณฑที่มีความ<br />

สามารถในการคืนรูปที่ดีกวาการอบแหงดวยอากาศรอน<br />

และทุเรียนอบแหงที่แชในนมที่มีอุณหภูมิสูงสามารถดูด<br />

ซับนมไดเร็วกวาการแชในนมที่มีอุณหภูมิต่ํากวา เมื่อนํา<br />

ผลการทดลองที่ไดไปเปรียบเทียบกับผลที่ไดจากการ<br />

ทํานายดวยสมการ Peleg พบวา สมการ Peleg สามารถ<br />

ทํานายการเปลี่ยนแปลงความชื้นในทุเรียนอบแหงไดเปน<br />

อยางดี<br />

NC-239 การอบแหงเนื้อไกดวยไอน้ํารอนยวดยิ่ง<br />

รวมกับปมความรอน<br />

วรวิทย กรัยวณิชยกุล, อดิศักดิ์ นาถกรณกุล,<br />

สมชาติ โสภณรณฤทธิ์<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 543-554<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเทคนิคการ<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

อบแหงเนื้อไกแบบ 2 ขั้นตอน คือ การอบแหงดวยไอน้ํา<br />

รอนยวดยิ่งตามดวยปมความรอน (SSD/HPD) และการ<br />

อบแหงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งตามดวยอากาศรอน<br />

(SSD/AD) โดยเปรียบเทียบกับการอบแหงดวยไอน้ํา<br />

รอนยวดยิ่งเพียงอยางเดียว โดยมีเงื่อนไขในการทดลอง<br />

คือ อบแหงเนื้อไกที่มีความชื้นเริ่มตน 3.11%d.b.<br />

จนกระทั่งความชื้นสุดทายเทากับ 0.11%d.b. อุณหภูมิไอ<br />

น้ํารอนยวดยิ่งเทากับ 120, 140 และ 160 °C อุณหภูมิ<br />

ของอากาศรอนหรือปมความรอนเทากับ 55 °C ความ<br />

ชื้นเนื้อไกหลังผานการอบแหงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งเทากับ<br />

30% และ 40% มาตรฐานเปยก ผลการทดลองพบวา<br />

เนื้อไกที่อบแหงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งตามดวยปมความ<br />

รอนมีการหดตัวนอย คุณภาพสีและการคืนตัวดีกวาเนื้อไก<br />

ที่อบแหงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งตามดวยอากาศรอนและไอ<br />

น้ํารอนยวดยิ่งเพียงอยางเดียว<br />

NC-240 จลนพลศาสตรการอบแหงและสมบัติทาง<br />

กายภาพของเนื้อหมูดวยเทคนิคการอบแหงแบบ<br />

สองชวง<br />

ณรงค อึ้งกิมบวน, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์,<br />

สมเกียรติ ปรัชญาวรากร, อดิศักดิ์ นาถกรณกุล<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 499-506<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาจลนศาสตร<br />

การอบแหงและสมบัติทางกายภาพของเนื้อหมูดวย<br />

เทคนิคการอบแหงแบบสองชวง กระบวนการอบแหง<br />

ประกอบดวยการอบแหงโดยใชอุณหภูมิสูงในชวงแรกดวย<br />

อากาศรอนหรือไอน้ํารอนยวดยิ่ง ที่อุณหภูมิ 150 °C แลว<br />

ตามดวยการอบแหงที่อุณหภูมิต่ําในชวงที่สองดวยปม<br />

ความรอนที่อุณหภูมิ 50°C และทําการศึกษาสมบัติทาง<br />

กายภาพของผลิตภัณฑหลังทําการอบแหงไดแก สี การหด<br />

ตัวและคาความแข็ง โดยเนื้อหมูจะถูกอบแหงในชวงแรก<br />

จากความชื้นเริ่มตนประมาณ 76.5% w.b. ใหเหลือ<br />

ความชื้นสุดทาย 30 40 50 และ 60% w.b. แลวทําการ<br />

อบตอเนื่องในชวงที่สองจนไดความชื้นสุดทาย 20%w.b.<br />

จากผลการทดลองพบวาเนื้อหมูที่ผานการอบแหงดวยไอ<br />

น้ํารอนยวดยิ่งในชวงแรกจะมีอัตราการอบแหงในชวงที่<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!