28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 555-561<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาผลของการทดลองแชน้ํา<br />

และการเทมเปอริง ตอการเสื่อมสลายของเอนไซมยูรีเอส<br />

และคาการละลายโปรตีนในถั่วเหลือง ภายใตการอบแหง<br />

แบบฟลูอิไดซเบดดวยอากาศรอน ถั่วเหลืองแหงถูกนํามา<br />

แชในน้ําที่มีอุณหภูมิ 30°C และ 60°C เพื่อใหไดความ<br />

ชื้นเริ่มตนประมาณรอยละ 19.5 มาตรฐานแหงและ<br />

อบแหงที่อุณหภูมิ 135°C และ 150°C โดยมีทั้งการ<br />

เทมเปอริงและไมมีการเทมเปอริงกอนการอบแหง จากผล<br />

การทดลองพบวา ระยะเวลาเทมเปอริงและอุณหภูมิ<br />

อากาศรอนที่ใชในการอบแหง จะมีอิทธิพลตอการเสื่อม<br />

สลายของเอนไซมยูรีเอส มากกวาอุณหภูมิน้ําที่ใชแชเมล็ด<br />

ถั่วเหลือง โดยเมื่อใชเวลาในเทมเปอริงนานขึ้นและ<br />

อุณหภูมิอบแหงสูงขึ้นจะทําใหเอนไซมยูรีเอสเสื่อมสลาย<br />

ไดเร็วขึ้น สําหรับคาการละลายของโปรตีนนั้นพบวา เมล็ด<br />

ถั่วเหลืองที่ผานกระบวนการแชน้ําที่อุณหภูมิ 30°C<br />

เทมเปอริงเปนเวลา 1 ชั่วโมง และการอบแหงดวย<br />

อุณหภูมิ 135°C จะใหคาการละลายของโปรตีนดีที่สุด<br />

NC-236 สมบัติทางกายภาพของขาวเหนียวนึ่งสุก<br />

หลังการอบแหง<br />

วัชรานนท จุฑาจันทร, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์,<br />

ศิริธร ศิริอมรพรรณ, ณัฐพล ภูมิสะอาด<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 379-386<br />

การศึกษาสมบัติทางกายภาพของขาวเหนียวนึ่ง<br />

สุกหลังการอบแหง วิธีการศึกษาเปรียบเทียบคือการ<br />

อบแหงโดยวิธีการตากแดด วิธีการใชลมรอน และวิธี<br />

การใชไอน้ํารอนยวดยิ่ง โดยใชอุณหภูมิของตัวกลางใน<br />

การอบแหงโดยวิธีการใชลมรอน และวิธีการใชไอน้ํารอน<br />

ยวดยิ่งคือ 130, 150 และ 170 องศาเซลเซียส ทําการ<br />

ทดลองโดยการวัดสี การดูโครงสรางภายในดวย<br />

Scanning electron microscope (SEM) และความ<br />

297<br />

หนาแนน นํามาใชเพื่อเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพ<br />

ของขาวเหนียวที่เปลี่ยนแปลงหลังจากการอบแหง จาก<br />

การศึกษาพบวาสีของตัวอยางที่อบแหงดวยลมรอนมีสี<br />

คล้ําเล็กนอย และการอบแหงดวยไอน้ํารอนยวดยิ่งมีสีคล้ํา<br />

มากที่สุด ผิวของตัวอยางที่อบแหงดวยลมรอนและไอน้ ํา<br />

รอนยวดยิ่งจะมีรูที่ผิวเปนจํานวนมาก และภายในตัวอยาง<br />

ที่อบแหงดวยลมรอนและไอน้ํารอนยวดยิ่งจะมีโพรง<br />

เกิดขึ้น การอบแหงดวยวิธีใชไอน้ํารอนยวดยิ่งใหคาความ<br />

หนาแนนจริงมากกวาการอบแหงดวยวิธีใชลมรอน แต<br />

ความหนาแนนปรากฏของการอบแหงทั้ง 2 วิธีจะไมแตก<br />

ตางกัน<br />

NC-237 แบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับการ<br />

อบแหงถั่วเหลืองเมล็ดเดี่ยวดวยไอน้ํารอนยวดยิ่ง<br />

และอากาศรอน<br />

อุบลวรรณ ชนะภัย, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์,<br />

สมเกียรติ ปรัชญาวรากร<br />

การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย ครั้งที่ 6 “วิศวกรรมเกษตรนําไทยสูครัวโลก”,<br />

30-31 มีนาคม 2548, โรงแรมมิราเคิลแกรนด,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 587-601<br />

งานวิจัยนี้มีจุดประสงคเพื่อพัฒนาแบบจําลอง<br />

ทางคณิตศาสตรสําหรับการอบแหงถั่วเหลืองเมล็ดเดี่ยว<br />

ระหวางการใชไอน้ํารอนยวดยิ่งและอากาศรอนดวย<br />

เทคนิคฟลูอิไดเซชัน โดยใชหลักการถายเทความรอนและ<br />

มวลมาอธิบายกระบวนการอบแหง เพื่อทํานายผลของ<br />

ปจจัยตางๆ ที่มีตอการควบแนนของไอน้ําและอิทธิพลของ<br />

ตัวกลางตออัตราการอบแหง ซึ่งผลการคํานวณจาก<br />

แบบจําลองทางคณิตศาสตรที่พัฒนาขึ้นใหผลสอดคลอง<br />

กับผลการทดลอง และจากการศึกษาพบวาตัวแปรที่มี<br />

อิทธิพลตอการดูดซับน้ําในชวงการควบแนนของไอน้ําที่<br />

สําคัญ ไดแก อุณหภูมิของไอน้ํารอนยวดยิ่งและอุณหภูมิ<br />

เริ่มตนของถั ่วเหลือง โดยเมื่ออุณหภูมิของไอน้ํารอนยวด<br />

ยิ่งและอุณหภูมิเริ่มตนของถั่วเหลืองสูงจะทําใหการดูดซับ<br />

น้ําของเมล็ดเกิดขึ้นนอย นอกจากนี้ในงานวิจัยได<br />

ทําการศึกษาสวนของอุณหภูมิอินเวอรชันตออัตราการ<br />

อบแหงของเมล็ดถั่วเหลืองเดี่ยว พบวาเมื่อใชความเร็ว<br />

ตัวกลางของการอบแหงและความชื้นเริ่มตนของเมล็ด<br />

สูงขึ้นสงผลใหคาอุณหภูมิอินเวอรชันต่ําลง<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!