28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

218<br />

เคลือบเมื่อมีการใชสารหลอลื่นจะใกลเคียงกัน ในสวน<br />

ทดลองที่ไมใชสารหลอลื่นจะพบวาผิวเคลือบ TiC และ<br />

TiCN มีความสามารถในการหลอลื่นสูง สวนผิวเคลือบ<br />

Hard chrome มีความสามารถในการหลอลื่นต่ํา<br />

เนื่องจากผิวเคลือบที่เตรียมไดมีความแข็งนอยมาก<br />

สําหรับผิวเคลือบ TD มีความสามารถในการหลอลื่นต่ํา<br />

เนื่องจากผิวเคลือบมีความเรียบมากจนอาจจะเกิดการยึด<br />

เหนี่ยว (Adhesion) ไดงาย สวนผิวเคลือบ TiN และ<br />

TiAIN พบวามีความสามารถในการหลอลื่นต่ํากวาการไม<br />

เคลือบผิวเล็กนอย เนื่องจากผิวเคลือบคอนขางหยาบ<br />

สวนผิวเคลือบ Nitride พบวา มีความสามารถในการ<br />

หลอลื่นใกลเคียงกับการไมเคลือบผิว<br />

NC-025 EFFECT OF SHORT-TERM<br />

TEMPERATURE CHANGES ON FORCE<br />

EXERTED BY SUPER-ELASTIC NI-TI ALLOY<br />

ORTHODONTIC CLOSED COIL SPRING<br />

กฤตติกา จินตวลากร, พีรพงศ สันติวงศ,<br />

ไพศาล ชัยวัฒน, อนรรฆ ขันธะชวนะ<br />

การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมเครื่องกลแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 19, 19-21 ตุลาคม 2548, โรงแรม<br />

เดอะรอยัลพาราไดส, จ.ภูเก็ต, หนา 342-346<br />

Recently, Nickel Titanium (NiTi) coil<br />

springs have been used extensively in<br />

orthodontic treatment. Closed coil springs are<br />

generally used for distalization of canines,<br />

mesial movement of molar and anterior space<br />

closure. The springs are believed to exert a light<br />

constant, continuous force, which is suitable for<br />

physiologic orthodontic tooth movement, over a<br />

long range of activation. However, the<br />

temperature fluctuation in the oral environment<br />

may affect force delivery of the springs. In this<br />

study, the effect of short-term temperature<br />

change on the force delivery of NiTi close coil<br />

springs in their superelastic range was<br />

investigated. Commercially available NiTi<br />

closed coil springs were subjected to a tensile<br />

test. At the mid-point of the unloading plateau,<br />

the springs were held in a constant extension and<br />

subjected to heating cycle (from 37°C to 60°C to<br />

37°C) and cooling cycle (from 37°C to 10°C to<br />

37°C). During both procedures, the force was<br />

continually recorded. For the heating cycle, load<br />

values of all the springs examined were found to<br />

increase with rising temperatures and did not<br />

return to their original values. For the cooling<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

cycle, load values of the springs decreased with<br />

dropping temperature and increased to the<br />

original value when temperature return back to<br />

37°C. These findings demonstrate that the<br />

superelastic NiTi coil springs do not provide a<br />

predictable light continuous force in the<br />

fluctuating oral temperature environment.<br />

NC-026 การศึกษาการถายเทความรอนในเครื่อง<br />

แลกเปลี่ยนความรอนแบบทอที่มีครีบโดยใช<br />

โปรแกรม CFD<br />

ภัทราพร พุฒคํา, วันชัย อัศวภูษิตกุล<br />

การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมเครื่องกลแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 19, 19-21 ตุลาคม 2548,<br />

โรงแรมเดอะรอยัลพาราไดส, จ.ภูเก็ต, หนา 1206-<br />

1211<br />

บทความนี้นําเสนอการศึกษาการถายเทความ<br />

รอนในเครื่องแลกเปลี่ยนความรอนแบบทอที่มีครีบแบบ<br />

ลูกคลื่นดวยวิธี CFD วัตถุประสงคของการศึกษาเพื่อ<br />

ทําการศึกษาถึงผลกระทบตอการถายเทความรอนทางดาน<br />

อากาศอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบครีบที่เปนลูก<br />

คลื่น 2 แบบ ซึ่งการถายเทความรอนที่เกิดขึ้นจะพิจารณา<br />

ในเทอมของ Average heat transfer coefficient (h)<br />

โดยสัมพันธกับคาเรยโนลดนัมเบอร รวมไปถึงการ<br />

พิจารณาพฤติกรรมการไหลที่เปลี่ยนไปอันเนื่องมาจาก<br />

การเปลี่ยนแปลงรูปรางของตัวครีบ ซึ่งลักษณะของตัวครีบ<br />

ที่จะศึกษามีขอแตกตางระหวางครีบทั้งสองคือ มีรอยหยัก<br />

(Fin corrugation) ที่แตกตางกันโดยที่ครีบแบบ 1 ใน<br />

สวนบริเวณทอนั้นมีรอยหยักแบบคว่ํา และแบบที่ 2 นั้น<br />

จะมีรอยหยักแบบหงาย โดยผลที่ไดจากการจําลองแบบ<br />

ทางโปรแกรม CFD พบวาคา Average heat transfer<br />

coefficient (h) ในกรณีของครีบแบบที่ 2 นั้น จะใหผลที่<br />

ดีกวาในครีบของแบบที่ 1 ซึ่งแสดงใหเห็นวาความ<br />

สามารถของการถายเทความรอนของครีบลูกคลื่นแบบที่<br />

2 นั้นจะใหผลที่ดีกวา ในครีบลูกคลื่นแบบที่ 1 ซึ่งเมื่อ<br />

พิจารณาสาเหตุที่ครีบที่มีรูปรางที่แตกตางกันแลวใหผล<br />

ของการถายเทความรอนที่ตางกัน จะเห็นไดวาเปนผลมา<br />

จากรูปแบบการไหล (Flow pattern) ที่แตกตางกันใน<br />

ครีบลูกคลื่นแบบ 1 และ 2 โดยจะมีการเกิด wake ที่<br />

แตกตางกัน ซึ่ง wake ที่เกิดขึ้นนั้นจะเปนตัวถวงในการ<br />

ถายเทความรอน โดยครีบแบบที่ 1 นั้น จะใหผลของการ<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!