28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

322<br />

นัยสําคัญที่จะชวยเพิ่มศักยภาพในการประเมินผลกระทบ<br />

จากกิจกรรมของมนุษยตอประชากรของนกในปาได<br />

NC-299 ตัวตัวผูและตัวตัวเมียของนกจับแมลงจุก<br />

ดํา (Hypothymis azurea) มีสวนชวยในการเลี้ยงลูก<br />

เทากันหรือไม?<br />

คิโฮโก โทคุเอะ, แอนดรู เจ เพียรซ, กรกช พบประเสริฐ,<br />

จอรจ เอ เกล<br />

The 1 st Field Ecology Symposium: Forest<br />

Ecology and Restoration, 28-30 มกราคม 2548,<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, กรุงเทพฯ,<br />

หนา 66-67<br />

การศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูก<br />

นกในปาเขตรอนยังมีนอย นกจับแมลงจุกดํา<br />

(Hypothymis azurea) เปนนกที่พบไดคอนขางงายใน<br />

พื้นที่แปลงมอสิงโต อุทยานแหงชาติเขาใหญ ตัวผูและตัว<br />

เมียมีสีที่แตกตางกัน และทั้งคูจะชวยกันกกไขและดูแลลูก<br />

นกซึ่งสิ่งเหลานี้ทําใหเหมาะแกการศึกษาเพื่อเปน<br />

แบบอยางในการศึกษาพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกนกโดยได<br />

ทําการเปรียบเทียบการเลี้ยงดูระหวางตัวผูและตัวเมีย เพื่อ<br />

ทดสอบ 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีแรก ตัวเมียจะใชเวลาในการ<br />

กกไขและเลี้ยงดูลูกมากกวาตัวผู ทฤษฎีที่สอง ตัวผูและตัว<br />

เมียจะใชเวลาในการกกไขและเลี้ยงดูลูกเทากัน ภายใต<br />

สองทฤษฎีดังกลาวเรายังคาดวาอัตราการปอนอาหารจะ<br />

คอยๆเพิ่มขึ้น ตามการเจริญเติบโตของลูกนกในรัง โดย<br />

เราคาดคะเนวาการเลี้ยงลูกของนกชนิดนี้เปนไปตาม<br />

ทฤษฏีที่สอง เนื่องจากมีรูปแบบการเลี้ยงดูลูกเหมือนกับ<br />

นก Hawaii 'Elepaio ขอมูลจากการศึกษาเบื้องตน<br />

สามารถสรุปไดวานกจับแมลงจุกดําทั้งตัวผูและตัวเมียมี<br />

สัดสวนในการกกไข และเลี้ยงดูลูกเทากัน และอัตราการ<br />

ปอนอาหารจะคอยๆ เพิ่มขึ้นตามการเจริญเติบโตของลูก<br />

นกในรัง<br />

NC-300 ผลกระทบของถนนตอความชุกชุมของสัตว<br />

กินเนื้อในอุทยานแหงชาติแกงกระจาน<br />

ดุสิต งอประเสริฐ, จอรจ เอ เกล,<br />

แอนโทนี่ เจ ไลแนม<br />

The 1 st Field Ecology Symposium: Forest<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

Ecology and Restoration, 28-30 มกราคม 2548,<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, กรุงเทพฯ,<br />

หนา 44-45<br />

ถนนและการรบกวนของมนุษยสงผลกระทบ<br />

หลายอยางตอความอยูรอดและพฤติกรรมของสัตว เพิ่ม<br />

ศึกษาผลกระทบของถนนและการรบกวนของมนุษยตอ<br />

ความชุกชุมของเสือดาว ในพื้นที่ศึกษา 104 ตารางกิโล<br />

เมตรของอุทยานแหงชาติแกงกระจาน<br />

ผลการศึกษาพบวามีความหนาแนนของเสือดาว<br />

โดยประมาณ 4.78 2.42 ตัว ตอ 100 ตารางกิโลเมตร<br />

เปนเสือดาวเพศผู 4 ตัว กับเพศเมีย 2 ตัว ถนนไมได<br />

ขัดขวางการสัญจรของเสือดาว แตผลกระทบอาจเกี่ยวของ<br />

กับกิจกรรมของคนที่ใชถนน สมการวิเคราะหความ<br />

ถดถอยโลจิสติคชี้ใหเห็นวาเสือดาวปรากฏตัวในบริเวณ<br />

ใกลถนนนอยกวาพื้นที่ที่หางไกลถนนอยางมีนัยสําคัญ (p<br />

< 0.05) การปรากฏตัวของคนในปานําไปสูการปรับ<br />

เปลี่ยนพฤติกรรมของเสือดาว โดยพื้นที่ที่มีคนรบกวนเสือ<br />

ดาวมีแนวโนมออกหากินในเวลากลางคืนมากกวาพื้นที่ที่<br />

ไมมีคนรบกวน (Mann-Whitney U, p = 0.004) การ<br />

ลดแรงกดดันจากการรบกวนของมนุษย ในชวงวิกฤตของ<br />

การสืบพันธ อาจชวยลดผลกระทบในระยะยาวของสัตวปา<br />

ได อยางไรก็ตามยังพบวามีการลาสัตวในพื้นที่ ซึ่งสําคัญ<br />

อยางยิ่งตอการลดจํานวนลงของเสือดาวและสัตวปาอื่นๆ<br />

ในอนาคตควรเพิ่มการลาดตระเวนใหมากขึ้น และควรมี<br />

การศึกษาเพิ่มเติมเพื่ออธิบายถึงผลกระทบของประชากร<br />

สัตวปาตอการหลีกหนีถนน และจะสามารถลดผลกระทบ<br />

ไดอยางไร<br />

NC-301 ผลของการฟนฟูปาตอความหลากหลาย<br />

ของชนิดและองคประกอบของสังคมนกในพื้นที่<br />

อุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย<br />

ธิดารัชต ตกแตง, สตีเฟน อิลเลียต, จอรจ เอ เกล<br />

The 1 st Field Ecology Symposium: Forest<br />

Ecology and Restoration, 28-30 มกราคม 2548,<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, กรุงเทพฯ,<br />

หนา 36-37<br />

การสํารวจนกในพื้นที่แปลงปลูกปาแบบใช<br />

พรรณไมโครงสราง บานแมสาใหม อําเภอแมริม ของ<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!