28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

ขอมูลอนุกรมเวลาเปนขอมูลประเภทหนึ่งที่ได<br />

รับความสนใจในงานวิจัยดานการจําแนกขอมูล แหลงที่มา<br />

ของขอมูลเหลานี้สวนใหญไดมาจากการเก็บรวบรวมขอมูล<br />

จากสถานการณจริง การสรางชุดขอมูลจากสมการ การ<br />

แปลงขอมูลภาพใหอยูในรูปแบบอนุกรมเวลาเปนตน นิว<br />

รอลเน็ตเวิรกยังคงเปนอีกเทคนิคหนึ่งที่ถูกนํามาใชในการ<br />

จําแนกขอมูลประเภทนี้ ถึงแมวาโครงสรางของนิวรอล<br />

เน็ตเวิรกแตละชนิดจะเหมาะสมกับงานแตละแบบ เทาที่<br />

ผานมายังไมมีงานวิจัยที่ศึกษาความเหมาะสมของโครง<br />

สรางนิวรอลเน็ตเวิรกในการจําแนกขอมูลอนุกรมเวลา<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ<br />

ประสิทธิภาพและความเหมาะสมในการเลือกใชระหวาง<br />

นิวรอลเน็ตเวิรกประเภทฟดฟอรเวิรดเน็ตเวิรกกับรีเคอร<br />

เรนเน็ตเวิรกในการจําแนกขอมูลอนุกรมเวลา โดยนิวรอล<br />

เน็ตเวิรกประเภทละ 3 โครงสรางไดถูกนํามาใชจําแนกขอ<br />

มูล Cylinder-Bell-Funnel Dataset, Control Chart<br />

Patterns Dataset และ Leaf Dataset<br />

ผลการจําแนกขอมูลจากนิวรอลเน็ตเวิรกทั้ง 2<br />

ประเภทสามารถสรุปไดวานิวรอลเน็ตเวิรกประเภทฟด<br />

ฟอรเวิรดเน็ตเวิรกเปนโครงสรางที่เหมาะสมในงานจําแนก<br />

ขอมูลอนุกรมเวลามากกวารีเคอรเรนเน็ตเวิรก โดยฟด<br />

ฟอรเวิรดทั้ง 3 ชนิดสามารถจําแนกขอมูลทั้ง 3 ชุดขอมูล<br />

ไดถูกตองแมนยํากวารีเคอรเรนเน็ตเวิรกทั้ง 3 ชนิด<br />

NC-324 การประยุกตใช Image Processing<br />

Features Extraction ในการจําแนกขอมูลประเภท<br />

อนุกรมเวลาที่ตางกัน<br />

อภิวดี ปยธรรมรงค, กิตติชัย ลวันยานนท<br />

The 9 th National Computer Science and<br />

Engineering Conference (NCSEC 2005), 27-28<br />

ตุลาคม 2548, มหาวิทยาลัยหอการคาไทย, กรุงเทพฯ,<br />

หนา 915-924<br />

Features Extraction เปนกระบวนการที่สกัด<br />

คุณลักษณะที่เปนเอกลักษณออกจากชุดขอมูล ในงานวิจัย<br />

กอนหนานี้ไดนําเทคนิคนี้ไปใชในกระบวนการ Pre<br />

processing เพื่อนํา Features หรือคุณลักษณะที่ไดไป<br />

ใชในการจําแนกขอมูลอนุกรมเวลา ชนิดหนึ่งที่เรียกวา<br />

Control Chart Patterns รวมกับนิวรอลเน็ตเวิรก ซึ่งผล<br />

จากงานวิจัยกอนหนาไดแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของ<br />

333<br />

Features Extraction ในการจําแนกกลุมขอมูลชนิด<br />

ดังกลาวไดเปนอยางดี<br />

บทความนี้ไดทําการแสดงใหเห็นถึงความ<br />

สามารถของ Features Extraction ที่มีตอการจําแนก<br />

ขอมูลประเภทอนุกรมเวลาชนิดตางๆ (Cylinder-Bell-<br />

Funnel Dataset และ Leaf Dataset) โดย Features<br />

ที่ใชในงานวิจัยนี้คือ Mean, Standard Deviation,<br />

Skewness, Kurtosis และ Second-order signal<br />

ผลลัพธที่ไดจากงานวิจัยชิ้นนี้ ยืนยันประโยชนของ<br />

กระบวนการ Features Extraction ในการเพิ่มประสิทธิ<br />

ภาพการจําแนกขอมูลประเภทอนุกรมเวลาทั่วๆ ไปรวม<br />

กับนิวรอลเน็ตเวิรกได อยางไรก็ดีการคัดสรร Features<br />

ที่เหมาะสมกับลักษณะของขอมูลเปนปจจัยสําคัญในการ<br />

เพิ่มประสิทธิภาพของการจําแนกขอมูล<br />

NC-325 COMPUTATIONAL APPROACH FOR<br />

ANALYZING AND PREDICTING THE<br />

SUBSTRATE SPECIFICITY OF<br />

ADENYLATION DOMAINS IN<br />

NONRIBOSOMAL PEPTIDE SYNTHETASES<br />

วารุณี แกวงาม, วสุนันท ชุมเชื้อ, เกรียงไกร ปอแกว,<br />

จันทิรา ปญญา, ชิเน ธรรมรงธรรม,<br />

สุภาภรณ ชีวะธนรักษ<br />

BioThailand (The 16 th Annual Meeting of the<br />

Thai Society of Biotechnology: The Era of<br />

Bionanotechnology), 4-5 พฤศจิกายน 2548,<br />

ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์, กรุงเทพฯ, หนา 74<br />

Currently, many lethal pathogenic<br />

bacteria resist to various types of conventional<br />

drugs, As such innovative approach for<br />

discovering novel drugs is needed. Nonribo<br />

somal peptides (NRPs), a group of bioactive<br />

compounds, produced by bacteria and fungi are<br />

of interest as a new candidate for drug<br />

developments. These compounds are processed<br />

by nonribosomal peptide synthetases (NRPSs)<br />

which consist of modular multi-domains. The<br />

most important domain of each module is the<br />

adenylation domain (A domain), which is<br />

responsible for substrate recognition and<br />

activation. NRPS allows alteration of substrate<br />

specificity by changing A domain and then<br />

provides the synthesis of novel bioactive<br />

peptides. Since the experimental validation of<br />

structure and function relationship of A<br />

domain is time consuming, in silico studies of<br />

substrate specificity of A domain are necessary.<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!