11.07.2015 Views

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หมวด 3 101[108]วิชชา 3 นี้ เรียกสั้นๆ วา ญาณ 3; ดู [297] วิชชา 8 ดวย.D.III.220, 275; A.V.211.ที.ปา.11/228/232; 398/292; องฺ.ทสก.24/102/225.[] วิปลลาส 3 ระดับ ดู [178] วิปลลาส 4.[107] วิโมกข 3 (ความหลุดพน, ประเภทของความหลุดพน จัดตามลักษณะการเห็นไตรลักษณ ขอที่ใหถึงความหลุดพน — Vimokkha: liberation; aspects of liberation)1. สุญญตวิโมกข (หลุดพนดวยเห็นความวางหมดความยึดมั่น ไดแก ความหลุดพนที่เกิดจากปญญาพิจารณาเห็นนามรูป โดยความเปนอนัตตา คือ หลุดพนดวยเห็นอนัตตตา แลวถอนความยึดมั่นเสียได — Su¤¤ata-vimokkha: liberation through voidness; voidliberation) = อาศัยอนัตตานุปสสนา ถอนอัตตาภินิเวส.2. อนิมิตตวิโมกข (หลุดพนดวยไมถือนิมิต ไดแก ความหลุดพนที่เกิดจากปญญาพิจารณาเห็นนามรูป โดยความเปนอนิจจัง คือ หลุดพนดวยเห็นอนิจจตา แลวถอนนิมิตเสียได —Animitta-vimokkha: liberation through signlessness; signless liberation) = อาศัยอนิจจานุปสสนา ถอนวิปลลาสนิมิต.3. อัปปณิหิตวิโมกข (หลุดพนดวยไมทํ าความปรารถนา ไดแก ความหลุดพนที่เกิดจากปญญาพิจารณาเห็นนามรูป โดยความเปนทุกข คือ หลุดพนดวยเห็นทุกขตา แลวถอนความปรารถนาเสียได — Appaõihita-vimokkha: liberation through dispositionlessness;desireless liberation) = อาศัยทุกขานุปสสนา ถอนตัณหาปณิธิ.ดู [47] สมาธิ 3 2 .Ps.II.35; Vism.657; Comp.211.ขุ.ปฏิ.31/469/353; วิสุทฺธิ.3/299; สังคห.55.[108] วิรัติ 3 (การเวนจากทุจริต, การเวนจากกรรมชั่ว — Virati: abstinence)1. สัมปตตวิรัติ (เวนสิ่งประจวบเฉพาะหนา, เวนเมื่อประสบซึ่งหนา หรือเวนไดทั้งที่ประจวบโอกาส คือ ไมไดตั้งเจตนาไวกอน ไมไดสมาทานสิกขาบทไวเลย แตเมื่อประสบเหตุที่จะทํ าชั่วนึกคิดพิจารณาขึ้นไดในขณะนั้นวา ตนมีชาติตระกูล วัย หรือคุณวุฒิอยางนี้ ไมสมควรกระทํ ากรรมเชนนั้น แลวงดเวนเสียไดไมทํ าผิดศีล — Sampatta-virati: abstinence as occasionarises; abstinence in spite of opportunity)2. สมาทานวิรัติ (เวนดวยการสมาทาน คือ ตนไดตั้งเจตนาไวกอน โดยไดรับศีล คือสมาทานสิกขาบทไวแลว ก็งดเวนตามที่ไดสมาทานนั้น — Samàdàna-virati: abstinence byundertaking; abstinence in accordance with one’s observances)3. สมุจเฉทวิรัติ หรือ เสตุฆาตวิรัติ (เวนดวยตัดขาด หรือดวยชักสะพานตัดตอนเสียทีเดียว, เวนไดเด็ดขาด คือ การงดเวนความชั่ว ของพระอริยะทั้งหลาย อันประกอบดวยอริยมรรคซึ่งขจัดกิเลสที่เปนเหตุแหงความชั่วนั้นๆ เสร็จสิ้นแลว ไมเกิดมีแมแตความคิดที่จะประกอบกรรมชั่วนั้นเลย — Samuccheda-virati, Setughàta~: abstinence by rooting

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!