11.07.2015 Views

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

[227] 168พจนานุกรมพุทธศาสตร2. ขณิกาปติ (ปติชั่วขณะ ทํ าใหรูสึกแปลบๆ เปนขณะๆ ดุจฟาแลบ — Khaõikà-pãti:momentary or instantaneous joy)3. โอกกันติกาปติ (ปติเปนระลอกหรือปติเปนพักๆ ใหรูสึกซูลงมาๆ ในกาย ดุจคลื่นซัดตองฝง — Okkantikà-pãti: showering joy; flood of joy)4. อุพเพคาปติ หรือ อุพเพงคาปติ (ปติโลดลอย เปนอยางแรงใหรูสึกใจฟูแสดงอาการหรือทํ าการบางอยางโดยมิไดตั้งใจ เชน เปลงอุทาน เปนตน หรือใหรูสึกตัวเบาลอยขึ้นไปในอากาศ— Ubbegà-pãti: uplifting joy)5. ผรณาปติ (ปติซาบซาน ใหรูสึกเย็นซานแผเอิบอาบไปทั่วสรรพางค ปติที่ประกอบกับสมาธิทานมุงเอาขอนี้ — Pharaõà-pãti: suffusing joy; pervading rapture)Vism.143.วิสุทฺธิ.1/182.[227] พร 5 (สิ่งนาปรารถนาที่บุคคลหนึ่งอํ านวยใหหรือแสดงความประสงคดวยความปรารถนาดีใหเกิดมีขึ้นแกบุคคลอื่น; สิ่งประเสริฐ, สิ่งดีเยี่ยม — Vara: blessing; boon;excellent thing)พรที่รูจักกันมากไดแก ชุดที่มีจํ านวน 4 ขอ ซึ่งเรียกกันวา จตุรพิธพร หรือพร 4 ประการคือ อายุ วรรณะ สุขะ พละDh.109; A.II.63.ขุ.ธ.25/18/29; องฺ.จตุกฺก.21/58/83.พรที่เปนชุดมีจํ านวน 5 ขอบาง 6 ขอบาง ก็มี เชน อายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ (องฺ.ปฺจก.22/37/44 = A.III.42); อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุขะ พละ (องฺ.จตุกฺก.21/34/45; องฺ.ปฺจก.22/32/38; ขุ.อิติ. 25/270/299 = A.II.35; A.III.36; It.89); อายุ วรรณะ สุขะ ยศ เกียรติ สัคคะ คือสวรรค พรอมทั้ง อุจจากุลีนตา คือความมีตระกูลสูง (องฺ.ปฺจก. 22/43/51 = A.III.48); อายุ วรรณะยศ สุข อาธิปจจะ คือความเปนใหญ (ขุ.เปต. 26/106/195 = Pv. 308) และชุดที่จะกลาวถึงตอไปคืออายุ วรรณะ สุขะ โภคะ พละอยางไรก็ดี พึงทราบวา คํ าวา พร ในที่นี้ เปนการใชโดยอนุโลมตามความหมายในภาษาไทย ซึ่งเพี้ยนไปแลวจากความหมายเดิมในภาษาบาลี ในภาษาบาลีแตเดิม พร หมายถึง ผลประโยชนหรือสิทธิพิเศษที่อนุญาตหรืออํ านวยใหตามที่ขอ พรที่กลาวถึง ณ ที่นี้ทั้งหมด ในบาลีไมไดเรียกวา พร แตเรียกวา ฐานะ หรือ ธรรม ที่นาปรารถนา นาใคร นาพอใจ (ซึ่งจะบรรลุไดดวยกรรมคือการกระทํ าที่ดีอันเปนบุญ)สํ าหรับพระภิกษุ พรหรือธรรมอันนาปรารถนาเหลานี้ หมายถึงคุณธรรมตางๆ ที่ควรปลูกฝงฝกอบรมใหเกิดมี ดังพุทธพจนวา: ภิกษุทองเที่ยวอยู ภายในถิ่นทองเที่ยวที่เปนแดนของตนอันสืบทอดมาแตบิดา (คือ สติปฏฐาน 4) จักเจริญดวย1. อายุ คือ พลังที่หลอเลี้ยงทรงชีวิตใหสืบตออยูไดยาวนาน ไดแก อิทธิบาท 4 (for monks,âyu: longevity = the Four Bases of Accomplishment)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!