11.07.2015 Views

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หมวด 10 241[326]2. ศีล (ความประพฤติดีงาม คือ สํ ารวมกายและวจีทวาร ประกอบแตการสุจริต รักษากิตติคุณใหควรเปนตัวอยาง และเปนที่เคารพนับถือของประชาราษฎร มิใหมีขอที่ใครจะดูแคลน — Sãla:high moral character)3. ปริจจาคะ (การบริจาค คือ เสียสละความสุขสําราญ เปนตน ตลอดจนชีวิตของตน เพื่อประโยชนสุขของประชาชน และความสงบเรียบรอยของบานเมือง — Pariccàga: self-sacrifice)4. อาชชวะ (ความซื่อตรง คือ ซื่อตรงทรงสัตยไรมารยา ปฏิบัติภารกิจโดยสุจริต มีความจริงใจ ไมหลอกลวงประชาชน — âjjava: honesty; integrity)5. มัททวะ (ความออนโยน คือ มีอัธยาศัย ไมเยอหยิ่งหยาบคายกระดางถือองค มีความงามสงาเกิดแตทวงทีกิริยาสุภาพนุมนวล ละมุนละไม ใหไดความรักภักดี แตมิขาดยํ าเกรง —Maddava: kindness and gentleness)6. ตปะ (ความทรงเดช คือ แผดเผากิเลสตัณหา มิใหเขามาครอบงํ ายํ่ ายีจิต ระงับยับยั้งขมใจได ไมยอมใหหลงใหลหมกมุนในความสุขสํ าราญและความปรนเปรอ มีความเปนอยูสมํ่ าเสมอหรืออยางสามัญ มุงมั่นแตจะบํ าเพ็ญเพียร ทํ ากิจใหบริบูรณ — Tapa: austerity; self-control;non-indulgence)7. อักโกธะ (ความไมโกรธ คือ ไมกริ้วกราดลุอํ านาจความโกรธ จนเปนเหตุใหวินิจฉัยความและกระทํ าการตางๆ ผิดพลาดเสียธรรม มีเมตตาประจํ าใจไวระงับความเคืองขุน วินิจฉัยความและกระทํ าการดวยจิตอันราบเรียบเปนตัวของตนเอง — Akkodha: non-anger; non-fury)8. อวิหิงสา (ความไมเบียดเบียน คือ ไมบีบคั้นกดขี่ เชน เก็บภาษีขูดรีด หรือเกณฑแรงงานเกินขนาด ไมหลงระเริงอํานาจ ขาดความกรุณา หาเหตุเบียดเบียนลงโทษอาชญาแกประชาราษฎรผูใด เพราะอาศัยความอาฆาตเกลียดชัง — Avihi§sà: non-violence; non-oppression)9. ขันติ (ความอดทน คือ อดทนตองานที่ตรากตรํ า ถึงจะลํ าบากกายนาเหนื่อยหนายเพียงไรก็ไมทอถอย ถึงจะถูกยั่วถูกหยันดวยคํ าเสียดสีถากถางอยางใด ก็ไมหมดกํ าลังใจ ไมยอมละทิ้งกรณียที่บํ าเพ็ญโดยชอบธรรม — Khanti: patience; forbearance; tolerance)10. อวิโรธนะ (ความไมคลาดธรรม คือ วางองคเปนหลักหนักแนนในธรรม คงที่ไมมีความเอนเอียงหวั่นไหวเพราะถอยคําที่ดีราย ลาภสักการะ หรืออิฏฐารมณ อนิฏฐารมณใดๆ สถิตมั่นในธรรมทั้งสวนยุติธรรม คือ ความเที่ยงธรรม ก็ดี นิติธรรม คือ ระเบียบแบบแผนหลักการปกครอง ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ก็ดี ไมประพฤติใหเคลื่อนคลาดวิบัติไป — Avirodhana: nondeviationfrom righteousness; conformity to the law)ราชธรรม 10 นี้ พึงจดจํ างายๆ โดยคาถาในบาลี ดังนี้ทานํ สีลํ ปริจฺจาคํ อาชฺชวํ มทฺทวํ ตปอกฺโกธํ อวิหึสฺจ ขนฺติฺจ อวิโรธนํ.J.V.378.ขุ.ชา.28/240/86.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!