11.07.2015 Views

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

พจนานุกรม พุทธศาสตร - โรงเรียนทอสี

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

[243] 178พจนานุกรมพุทธศาสตร10. ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณี (เวนจากการรับทองและเงิน — Jàtaråparajatapañiggahaõà~: to abstain from accepting gold and silver)สิกขาบท 10 นี้ เปนศีลที่สามเณรและสามเณรีรักษาเปนประจํ า หรืออุบาสกอุบาสิกาผูมีอุตสาหะจะรักษาก็ไดKh.I.1.ขุ.ขุ.25/1/1.[] สกทาคามี 5 ดู [59] สกคามี 3, 5.[] สมบัติของอุบาสก 5 ดู [259] อุบาสกธรรม 5.[243] สังวร 5 (ความสํ ารวม, ความระวังปดกั้นบาปอกุศล — Sa§vara: restraint)สังวรศีล (ศีลคือสังวร, ความสํ ารวมเปนศีล — virtue as restraint) ไดแก สังวร 5อยาง คือ1. ปาฏิโมกขสังวร (สํ ารวมในปาฏิโมกข คือ รักษาสิกขาบทเครงครัดตามที่ทรงบัญญัติไวในพระปาฏิโมกข — Pàñimokkha-sa§vara: restraint by the monastic code of discipline)2. สติสังวร (สํ ารวมดวยสติ คือ สํ ารวมอินทรียมีจักษุเปนตน ระวังรักษามิใหบาปอกุศลธรรมเขาครอบงํา เมื่อเห็นรูป เปนตน — Sati-sa§vara: restraint by mindfulness) = อินทรียสังวร3. ญาณสังวร (สํ ารวมดวยญาณ คือ ตัดกระแสกิเลสมีตัณหาเปนตนเสียได ดวยใชปญญาพิจารณา มิใหเขามาครอบงํ าจิต ตลอดถึงรูจักพิจารณาเสพปจจัยสี่ — ¥àõa-sa§vara:restraint by knowledge) = ปจจัยปจจเวกขณ4. ขันติสังวร (สํ ารวมดวยขันติ คือ อดทนตอหนาว รอน หิว กระหาย ถอยคํ าแรงราย และทุกขเวทนาตางๆ ได ไมแสดงความวิการ — Khanti-sa§vara: restraint by patience)5. วิริยสังวร (สํ ารวมดวยความเพียร คือ พยายามขับไล บรรเทา กํ าจัดอกุศลวิตกที่เกิดขึ้นแลวใหหมดไปเปนตน ตลอดจนละมิจฉาชีพ เพียรแสวงหาปจจัยสี่เลี้ยงชีวิตดวยสัมมาชีพ ที่เรียกวาอาชีวปาริสุทธิ — Viriya-sa§vara: restraint by energy) = อาชีวปาริสุทธิ.ในคัมภีรบางแหงที่อธิบายคํ าวา วินัย แบง วินัย เปน 2 คือ สังวรวินัย กับ ปหานวินัยและจําแนกสังวรวินัยเปน 5 มีแปลกจากนี้เฉพาะขอที่ 1 เปน สีลสังวร. (ดู สุตฺต.อ.1/9; สงฺคณี.อ.505;SnA.8; DhsA.351).Vism.7; PsA.14,447; VbhA.330.วิสุทฺธิ.1/8; ปฏิสํ.อ.16; วิภงฺค.อ.429.[244] สุทธาวาส 5 (พวกมีที่อยูอันบริสุทธิ์ หรือที่อยูของทานผูบริสุทธิ์ คือที่เกิดของพระอนาคามี — Suddhàvàsa: pure abodes) ไดแก อวิหา อตัปปา สุทัสสา สุทัสสี และ อกนิษฐาสุทธาวาส 5 นี้ เปนรูปาวจรภูมิ (ชั้นจตุตถฌานภูมิ ลํ าดับที่ 3 ถึง 7) ในพระไตรปฎกแสดงไวในรายชื่อที่รวมกับภูมิอื่นๆ บางเทาที่มีเรื่องเกี่ยวของ จึงไมมีรายชื่อภูมิทั้งหมดทุกชั้นทุกระดับครบถวนในที่เดียว แตในคัมภีรชั้นอรรถกถาบางแหง ทานแสดงรายชื่อภูมิไวทั้งหมดครบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!