30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปริมาณแอสคอรบิกในน้ําคั้นของเงาะทุกสภาวะบรรยากาศมีแนวโนมลดลงตลอดระยะเวลา<br />

การเก็บรักษา (ภาพที่<br />

37) โดยเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศปกติมีปริมาณแอสคอรบิกต่ําที่สุดใน<br />

วันที่<br />

15 ของการเก็บรักษา ในขณะที่เงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศควบคุมแกสออกซิเจนรวมกับ<br />

แกสคารบอนไดออกไซดที่ความเขมขนอื่นๆ<br />

มีปริมาณแอสคอรบิกในน้ําคั้นคอยๆ<br />

ลดต่ําลงจน<br />

กระทั่งสิ้นสุดการเก็บรักษา<br />

ซึ่งการลดลงของปริมาณแอสคอรบิกในผลิตผลนั้นเกิดเนื่องจากการ<br />

นําไปใชเปนสารตั้งตนในการหายใจ<br />

(Wills et al., 1981) อาจกลาวไดวาสภาวะบรรยากาศควบคุม<br />

สามารถชะลอการสูญเสียปริมาณแอสคอรบิกของเงาะได ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ<br />

Singh<br />

and Pal (2008) พบวา ฝรั่งที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศควบคุมสามารถยับยั้งการสูญเสียแอสคอรบิก<br />

ไดดีกวาฝรั่งที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศปกติ<br />

และ Deng et al. (2006) ไดทําการทดลองพบวาการ<br />

เก็บรักษาองุนพันธุ<br />

Kyoho ภายใตบรรยากาศควบคุม ที่อุณหภูมิ<br />

10 องศาเซลเซียส หลังการเก็บรักษา<br />

45 วัน พบวามีปริมาณแอสคอรบิกสูงกวาองุนที่เก็บรักษาภายใตสภาวะบรรยากาศปกติ<br />

ภาพที่<br />

38 แสดงปริมาณเอทานอลในน้ําคั้นของเงาะ<br />

พบวาเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศ<br />

ควบคุมแกสออกซิเจนรวมกับแกสคารบอนไดออกไซดที่ความเขมขนตางๆ<br />

มีแนวโนมของปริมาณ<br />

เอทานอลในน้ําคั้นเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา<br />

เงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศควบคุม<br />

5% O2 + 10% CO2 และ 10% O2 + 10% CO2 มีปริมาณเอทานอลสูงสุดในวันที่<br />

12 และ 18 ของการ<br />

เก็บรักษา และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

จนกระทั่งสิ้นสุดอายุการเก็บรักษา<br />

โดยปริมาณเอทานอลที่เพิ่มสูงขึ้น<br />

อาจเนื่องมาจากการสะสมแอซีตอลดีไฮดและเอทานอลเนื่องจากอุณหภูมิที่ใชในการเก็บรักษาสูง<br />

หรือต่ําเกินไป<br />

สภาวะบรรยากาศดัดแปลงที่ไมเหมาะสม<br />

สภาวะที่มีระดับความเขมขนของแกส<br />

ออกซิเจนที่ต่ําเกินไปหรือสภาวะบรรยากาศที่มีระดับความเขมขนของแกสคารบอนไดออกไซดที่สูง<br />

เกินไป (Pesis, 2005) สอดคลองกับการทดลองของ Golias and Bottcher (2002) พบวาเมื่อเก็บรักษา<br />

แอปเปลภายใตบรรยากาศควบคุม<br />

1% O2 + 8% CO2 มีการสะสมของปริมาณแอซีตอลดีไฮดมากกวา<br />

แอปเปลที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศควบคุม<br />

1%O2 โดยไมมีแกสคารบอนไดออกไซด อยางไรก็<br />

ตามภายหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลสามารถเกิดการสะสมของเอทานอลและแอซีตอลดีไฮดภายใตการ<br />

หายใจแบบใชออกซิเจนได อันเนื่องมาจากการเสื่อมสภาพของผลิตผล<br />

(Purvis, 1997)<br />

90

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!