30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2.1.2 คาสีผล วัดคาสีตรงกลางผลเงาะ ดวยเครื่องวัดสี<br />

chroma meter model CR–310<br />

(Minolta Inc, Japan) รายงานคาในระบบ L* a* b*<br />

คา L* คือ คาความสวาง มีคาตั้งแต<br />

0 (สีดํา) จนถึง 100 (สีขาว)<br />

คา a* คือ คาสีแดงเมื่อเปนคา<br />

(+) คาสีเขียวเมื่อเปนคา<br />

(-)<br />

คา b* คือ คาสีเหลืองเมื่อเปนคา<br />

(+) คาสีน้ําเงินเมื่อเปนคา<br />

(-)<br />

2.1.3 ปริมาณแอสคอรบิก (ascorbic acid) โดยวัดจากน้ําคั้นของเงาะ<br />

ใชวิธีที่ดัดแปลง<br />

ตามวิธีการของ AOAC (1990) ดังแสดงในภาคผนวก ค<br />

2.1.4 ปริมาณเอทานอล โดยวัดจากน้ําคั้นของเงาะ<br />

ใชวิธีที่ดัดแปลงตามวิธีการของ<br />

Larsen and Watkins (1995) ดังแสดงในภาคผนวก ค<br />

2.1.5 ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําไดทั้งหมด<br />

(total soluble solid, TSS) โดยวัดจากน้ํา<br />

คั้นของเงาะ<br />

ดวยเครื่อง<br />

hand refractometer รายงานหนวยองศาบริกซ (Brix)<br />

2.1.6 ปริมาณกรดที่ไทเทรตได<br />

(titratable acidity, TA) โดยวัดจากน้ําคั้นของเงาะ<br />

ดัดแปลงตามวิธีการของ AOAC (1990) ดังแสดงในภาคผนวก ค<br />

2.1.7 อัตราสวนของปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําไดทั้งหมดตอปริมาณกรดที่ไทเทรตได<br />

โดยหาอัตราสวนระหวางปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําไดทั้งหมดจากขอที่<br />

2.1.5 กับปริมาณกรดที่<br />

ไทเทรตไดจากขอที่<br />

2.1.6<br />

2.1.8 ประเมินคุณภาพจากอาการกลิ่นผิดปกติและลักษณะปรากฏภายนอกของเงาะ<br />

ทํา<br />

การประเมินคุณภาพดานตางๆ โดยใชผูประเมิน<br />

5 คน ดังนี้<br />

ก. ประเมินการเกิดกลิ่นหมักของเงาะ<br />

โดยกําหนดเปน 4 ระดับ ดังนี้<br />

ระดับ 1 หมายถึง ไมเกิดกลิ่นหมัก<br />

ระดับ 2 หมายถึง เกิดกลิ่นหมักเพียงเล็กนอย<br />

ระดับ 3 หมายถึง เกิดกลิ่นหมักปานกลาง<br />

41

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!