30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ฟลมที่ใชกันทั่วไปในการบรรจุผลิตผลสวนใหญไมคอยเหมาะสม<br />

โดยเฉพาะผลิตผลที่มี<br />

อัตราการหายใจสูง ฟลมเฉพาะสําหรับบรรจุผลิตผลมักตองนําเขาจากตางประเทศและมีราคาแพง<br />

ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) จึงไดพัฒนาฟลมที่มีสภาพใหซึมผานไดของแกส<br />

สูงหลายระดับเพื่อใหเหมาะสมกับผลิตผลหลายชนิด<br />

โดยฟลมที่ผลิตขึ้นนี้มีสมบัติยอมใหแกส<br />

ออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซด แกสเอทิลีน และความชื้น<br />

แพรผานดวยอัตราที่เหมาะสมกับ<br />

อัตราการหายใจของผลิตผล โดยสามารถดัดแปลงสภาวะบรรยากาศภายในบรรจุภัณฑใหเปนสภาวะ<br />

สมดุล (equilibrium modified atmosphere, EMA) ได ซึ่งโดยทั่วไปจะประกอบดวยแกสออกซิเจน<br />

ในชวงรอยละ 5-10 และแกสคารบอนไดออกไซดในชวงรอยละ 2-15 ชวยชะลอการหายใจ การคาย<br />

น้ํา<br />

การสุก และรักษาความชื้นภายในบรรจุภัณฑใหอยูระหวางรอยละ<br />

95-99 (ศูนยเทคโนโลยีโลหะ<br />

และวัสดุแหงชาติ, 2551) ความสามารถในการเลือกแกสแตละชนิดใหแพรผานดวยอัตราที่แตกตาง<br />

กันของฟลม สภาวะสมดุลเปนผลมาจากการควบคุมโครงสรางของพอลิเมอร ไดแก การควบคุมการ<br />

กระจายตัวของสารเติมแตง (additives) เพื่อปรับแตงโครงสรางหรือชองวางระหวางเฟส<br />

ซึ่งมีผลตอ<br />

การผานของแกสในฟลมที่ยอมใหแกสออกซิเจนผานไดสูง<br />

และการควบคุมโครงสรางรูพรุน รัศมีรู<br />

พรุน และการเชื่อมตอกันของรูพรุน<br />

ที่มีผลตอสมบัติการควบคุมความสามารถในการเลือกใหแกส<br />

ผาน (คาเพอรมซีเล็คทิวิที)<br />

จากการควบคุมโครงสรางของพอลิเมอรขางตน ทําใหฟลมที่มีสภาพใหซึมผานไดของแกส<br />

สูงที่ไดพัฒนานี้มีคาเพอรมซีเล็คทิวิทีครอบคุมชวงกวางขึ้นทําใหเหมาะสมกับผลิตผลหลายชนิดมาก<br />

ขึ้นและฟลมที่มีคาเพอรมซีเล็คทิวิทีประมาณ<br />

0.2 ที่เหมาะสมกับการเก็บรักษาผลิตผลสดที่มีอัตรา<br />

การหายใจสูง เชน เห็ด กระเจี๊ยบเขียว<br />

และหนอไมฝรั่ง<br />

ดังแสดงในภาพที่<br />

4 ซึ่งแสดงคาเพอรมซี<br />

เล็คทิวิทีของฟลมที่มีสภาพใหซึมผานไดของแกสสูงที่พัฒนาไดจากงานวิจัย<br />

(คาเพอรมซีเล็คทิวิที<br />

ในชวง 2-4: พื้นที่แรเงา<br />

และคาเพอรมซีเล็คทิวิทีประมาณ 0.2) เปรียบเทียบกับคาเพอรมซีเล็คทิวิที<br />

ของฟลมพอลิเอทิลีนที่ใชทั่วไปในอุตสาหกรรมไทย<br />

ซึ่งมีคาอยูในชวงที่แคบมาก<br />

(คาเพอรมซีเล็คทิวิ<br />

ทีประมาณ 2) (วรรณีและคณะ, 2548)<br />

32

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!