30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การผลิตเอทิลีน<br />

เอทิลีน (ethylene) เปนฮอรโมนพืชที่มีสถานะเปนแกส<br />

มีอิทธิพลกวางขวางตอการพัฒนา<br />

ของพืช โดยทั่วไปเอทิลีนจะมีผลในการเรงอัตราการเสื่อมสภาพของพืช<br />

เพราะเอทิลีนสามารถ<br />

กระตุนเนื้อเยื่อทุกชนิดใหมีอัตราการหายใจสูงขึ้นได<br />

โดยปกติปริมาณการผลิตเอทิลีนจะมีนอยแต<br />

เมื่อผลไมจะสุกหรือเมื่อผลิตผลถูกกระทบกระเทือน<br />

เชน การเกิดบาดแผล การสัมผัสกับความเย็น<br />

จะเกิดการสรางเอทิลีนมากขึ้นและเอทิลีนจะไปกระตุนกระบวนการตางๆใหเกิดขึ้นได<br />

(จริงแท,<br />

2546) เอทิลีนมีสวนสําคัญในผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว<br />

โดยมีสวนเรงการเกิดผลเสีย การวาย รวมทั้ง<br />

ทําใหอายุการเก็บรักษาของผลิตผลตางๆ ลดลงได (Reid, 2002) สําหรับในผลไมนั้น<br />

พบวา อัตราการ<br />

หายใจมีความสัมพันธกับการผลิตและปริมาณความเขมขนของเอทิลีน ในผลไมกลุมไคลแมคเทริค<br />

พบวา มีการผลิตเอทิลีนภายในผลระหวางการเจริญเติบโตต่ํา<br />

จนกระทั่งเขาสูระยะกอนสุกพบวามี<br />

การผลิตเอทิลีนเพิ่มขึ้นหลายเทาตัว<br />

การเพิ่มขึ้นของปริมาณเอทิลีนอาจเกิดขึ้นกอนหรือหลังการเพิ่ม<br />

ของอัตราการหายใจก็ได สวนในผลไมกลุมนอนไคลแมคเทริคพบวาอัตราการผลิตและระดับความ<br />

เขมขนของเอทิลีนจะอยูในระดับต่ําอยูตลอดการพัฒนาและการเจริญเติบโต<br />

ปจจัยที่มีผลตอการ<br />

สังเคราะหและการทํางานเอทิลีน ไดแก ชนิดหรือพันธุ<br />

อายุทางสรีรวิทยาเมื่อเก็บเกี่ยว<br />

อุณหภูมิ<br />

ความเครียดตางๆ ฮอรโมน พืชชนิดอื่นๆ<br />

สารยับยั้งการผลิตและการทํางานของเอทิลีน<br />

ปริมาณแกสออกซิเจนและปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดในสภาพบรรยากาศ ปริมาณเอ<br />

ทิลีนในสภาพบรรยากาศ ปริมาณสารประกอบไฮโดรคารบอนอื่นๆ<br />

เปนตน การกระตุนทาง<br />

กายภาพหรือการกระทบกระเทือนทําใหเกิดบาดแผลบนผลผลิตทําใหมีอัตราการผลิตเอทิลีนสูงขึ้น<br />

เชน มันฝรั่ง<br />

แครอท แคนตาลูปและผัดกาดซึ่งเอทิลีนจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา<br />

เชน<br />

เรงใหเขาสูความชราภาพ<br />

เรงอัตราการหายใจใหเพิ่มสูงขึ้น<br />

กระตุนกิจกรรมของเอนไซมและทําเกิด<br />

การออนตัวของเนื้อเยื่อ<br />

(Reyes, 1996)<br />

เงาะเปนผลไมที่มีการผลิตเอทิลีนในระดับต่ํา<br />

ภายหลังการเก็บเกี่ยวเงาะผลิตเอทิลีนไดนอย<br />

กวา 0.04 ไมโครลิตร/กก. ชม. อยางไรก็ตามเงาะจะผลิตเอทิลีนไดสูงถึง 2-3 ไมโครลิตร/กก. ชม.<br />

เนื่องมาจากการเขาทําลายของเชื้อราที่เพิ่มมากขึ้น<br />

นอกจากนี้เมื่อเงาะไดรับแกสเอทิลีนจากภายนอก<br />

ปริมาณ 5 ไมโครลิตร/กก. ชม. พบวาไมมีผลตอการชราภาพของเงาะอยางมีนัยสําคัญ ที่อุณหภูมิ<br />

10<br />

องศาเซลเซียส (O’Hare et al., 1994) สวน Lam and Kosiyachinda (1987) รายงานวา ในสภาวะที่<br />

เงาะผลิตเอทิลีนไดในระดับปานกลางถึงสูงนั้น<br />

เกิดขึ้นพรอมๆ<br />

กับการเกิดการแหงเหี่ยวที่ผิวเปลือก<br />

และภายหลังจากการเก็บรักษาในสภาวะที่อุณหภูมิสูง<br />

26-32 องศาเซลเซียส<br />

13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!