30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ตารางที่<br />

24 ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําไดทั้งหมดตอปริมาณกรดไทเทรตไดของเงาะที่เก็บรักษาใน<br />

ถาดพลาสติก PP ไมไดปดผนึก (control) และปดผนึกดวย LDPE-1, PE-1 และ PE-2<br />

เก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

12 องศาเซลเซียส<br />

่<br />

วันที่เก็บรักษา<br />

Control<br />

TSS/TA<br />

LDPE-1 PE-1 PE-2<br />

วันที 0 78.33±6.00 ns 78.33±6.00 ns 78.33±6.00 ns 78.33±6.00 ns<br />

่ วันที 3 90.00±4.18 a 84.91±4.05 b 86.09±2.80 b 87.86±5.63 b<br />

่ วันที 6 91.23±4.02 a 86.09±4.79 b 84.65±5.01 b 83.04±2.63 b<br />

่ วันที 9 N/A 85.78±5.18 ns 89.41±5.90 ns 86.36±5.41 ns<br />

่ วันที 12 N/A N/A 86.68±5.73 ns 86.36±5.32 ns<br />

่<br />

่<br />

วันที 15 N/A N/A N/A 83.17±5.82<br />

วันที 18 N/A N/A N/A 87.86 ±3.70<br />

หมายเหตุ คาเฉลี่ย±สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

(n = 6) ที่มีอักษรกํากับตางกันจากแถวนอนเดียวกัน<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (p ≤ 0.05), ns ไมแตกตางอยางมีนัยสําคัญ N/A หมายถึง<br />

ไมมีขอมูลเนื่องจากเกิดการเสื่อมเสีย<br />

การประเมินคุณภาพของผลเงาะโดยพิจารณาการเกิดกลิ่นหมัก<br />

พบวา เงาะในถาดที่ปด<br />

ผนึกดวยฟลม LDPE-1 เกิดกลิ่นหมักในวันที่<br />

6 ของการเก็บรักษาและมีระดับการเกิดกลิ่นหมักมาก<br />

ที่สุด<br />

(ระดับ 3.3) ในวันที่<br />

9 ของการเก็บรักษา (p ≤ 0.05) สวนเงาะในถาดที่ปดผนึกดวย<br />

PE-1 เริ่ม<br />

เกิดกลิ่นหมัก<br />

(ระดับ 2.2) ในวันที่<br />

9 ของการเก็บรักษาและมีระดับการเกิดกลิ่นหมักสูงขึ้น<br />

(ระดับ<br />

3.2) ในวันที่<br />

12 ของการเก็บรักษา (ภาพที่<br />

50) ระดับการเกิดกลิ่นหมักของเงาะมีคาแตกตางกันขึ้นกับ<br />

ความเขมขนของแกสในบรรจุภัณฑ รวมทั้งระยะเวลาที่เงาะไดรับแกสดวย<br />

(Watkins and Zhang,<br />

1998; Kader, 1986) จะเห็นไดวากลิ่นหมักของเงาะที่เกิดขึ้นสอดคลองกับปริมาณเอทานอลในน้ําคั้น<br />

เงาะจากการทดลองขางตนดวย<br />

ระดับการเกิดสีน้ําตาลดําของขนเงาะทุกสภาวะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาการ<br />

เก็บรักษา โดยเงาะในถาดที่ไมปดผนึกมีระดับการเกิดสีน้ําตาลดําของขนเงาะเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

ในวันที่<br />

3 และ 6 ของการเก็บรักษา เมื่อเปรียบเทียบกับเงาะในถาดที่ปดผนึกดวยฟลมชนิดตางๆ<br />

(ภาพที่<br />

51) จากการสังเกตพบวาขนของเงาะมีลักษณะแหงเหี่ยว<br />

และเกิดสีน้ําตาลขึ้นตรงสวนปลาย<br />

110

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!