30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การประเมินคุณภาพโดยพิจารณาจากการเกิดกลิ่นหมักของเงาะพบวาเงาะภายใต<br />

บรรยากาศที่มีแกสคารบอนไดออกไซดรอยละ<br />

20 มีระดับการเกิดกลิ่นหมักเพียงเล็กนอยตั้งแตวันที่<br />

12 ของการเก็บรักษา และมีกลิ่นหมักรุนแรงมากขึ้นในวันที่<br />

15 ของเก็บรักษา (ภาพที่<br />

18) ทั้งนี้<br />

เนื่องจากปริมาณคารบอนไดออกไซดปริมาณสูง<br />

สงผลใหเกิดการสะสมของแอซีตอลดีไฮดและเอทา<br />

นอล ทําใหเงาะเกิดกลิ่นหมักขึ้น<br />

ซึ่งสอดคลองกับปริมาณเอทานอลในน้ําคั้นของเงาะที่เก็บรักษา<br />

ภายใตบรรยากาศที่มีคารบอนไดออกไซดรอยละ<br />

20 มีคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วและมีคามากที่สุดใน<br />

วันที่<br />

15 ของการเก็บรักษา (p ≤ 0.05) ในขณะที่เงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศที่มีแกสคารบอน<br />

ไดออกไซดความเขมขนอื่นๆ<br />

และบรรยากาศปกติไมเกิดกลิ่นหมักตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา<br />

เมื่อพิจารณาลักษณะปรากฏของผลเงาะ<br />

พบวาระดับการเกิดสีน้ําตาลดําของขนเงาะเพิ่ม<br />

สูงขึ้น<br />

เมื่ออายุการเก็บรักษามากขึ้น<br />

(ภาพที่<br />

19) โดยลักษณะขนจะเปลี่ยนจากสีเขียวกลายเปนสี<br />

น้ําตาลดํา<br />

เริ่มจากปลายขน<br />

และมีลักษณะแหงเหี่ยวเนื่องจากการสูญเสียน้ํา<br />

เงาะที่เก็บรักษาภายใต<br />

บรรยากาศที่มีแกสคารบอนไดออกไซดรอยละ<br />

0.03 มีระดับการเกิดสีน้ําตาลดําของขนเงาะเพิ่ม<br />

สูงขึ้นอยางรวดเร็วในวันที่<br />

9 ของการเก็บรักษา และเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ<br />

จนกระทั่งสิ้นสุดการเก็บรักษา<br />

(p ≤ 0.05) สวนเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศที่มีแกสคารบอนไดออกไซดรอยละ<br />

5, 10, 15 และ<br />

20 มีระดับการเกิดสีน้ําตาลดําของขนเงาะคอยๆ<br />

เพิ่มสูงขึ้นตลอดอายุการเก็บรักษาและมีคาสูงสุดใน<br />

วันที่<br />

15 ของการเก็บรักษา (p 0.05) แสดงใหเห็นวาการเก็บรักษาเงาะภายใตบรรยา กาศที่มีแกส<br />

คารบอนไดออกไซดสูงสามารถชะลอการเกิดสีน้ําตาลของขนเงาะ<br />

ภาพที่<br />

20 แสดงระดับการเนาเสียของเงาะพบวาเงาะเก็บรักษาทุกสภาวะบรรยากาศมี<br />

ระดับการเนาเสียเพิ่มสูงขึ้นตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา<br />

โดยอาการที่พบคือเกิดรอยดําที่บริเวณผิว<br />

เงาะ บริเวณรอยมีลักษณะแฉะ เงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศปกติ<br />

(แกสคารบอนไดออกไซดรอย<br />

ละ 0.03) มีระดับการเนาเสียเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วในวันที่<br />

9 ของการเก็บรักษาและเพิ่มสูงขึ้นอยาง<br />

รวดเร็วจนกระทั่งสิ้นสุดการเก็บรักษา<br />

(p ≤ 0.05) ในขณะเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศที่มีแกส<br />

คารบอนไดออกไซดรอยละ 5, 10, 15 และ 20 มีระดับการเนาเสียของเงาะเพียงเล็กนอยในชวง 6 วัน<br />

แรก และคอยๆ เพิ่มสูงขึ้นจนกระทั่งสิ้นสุดการเก็บรักษาในวันที่<br />

15 ทั้งนี้เนื่องจากแกสคารบอนได<br />

ออกไซดสามารถยับยั้งการพัฒนาของเชื้อโรค<br />

ลดอาการเนาเสียเนื่องจากจุลินทรีย<br />

รวมทั้งลดการ<br />

เจริญของแมลงที่ติดมากับผลิตผลได<br />

(Wills et al., 1981) การเนาเสียของเงาะเกิดจากเชื้อราชนิด<br />

Botryodiplodia theobromae (Sangchote et al., 1992)<br />

65

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!