30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ผลและวิจารณ<br />

1. อัตราการหายใจและอัตราการผลิตเอทิลีนของเงาะพันธุโรงเรียนที่อุณหภูมิตางๆ<br />

จากผลการทดลองพบวาอัตราการหายใจของเงาะที่อุณหภูมิ<br />

0, 10, 12, 20 และ 30 องศา<br />

เซลเซียส มีคาเทากับ 26.85, 44.09, 60.88, 86.24 และ 112.47 มล. คารบอนไดออกไซด/กก. ชม.<br />

ตามลําดับ (ภาพที่<br />

9) แสดงใหเห็นวาเมื่ออุณหภูมิในการเก็บรักษาสูงขึ้น<br />

เงาะมีอัตราการหายใจที่<br />

สูงขึ้น<br />

ทั้งนี้เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นกระตุนใหสสารมีพลังงานสูงขึ้น<br />

สงผลใหปฏิกิริยาเคมีตางๆ<br />

เกิดไดในอัตราที่สูงขึ้น<br />

รวมถึงการหายใจดวย ในขณะที่อุณหภูมิต่ําทําใหผักและผลไมมีอัตราการ<br />

หายใจต่ําลงและชะลอการเปลี่ยนแปลงกระบวนการตางๆ<br />

ทางดานชีวเคมีและสรีรวิทยาของผักและ<br />

ผลไมที่เกิดขึ้นในอัตราที่ชาลง<br />

(Thompson, 2003; Wills et al., 1986)<br />

อัตราการหายใจหลังการเก็บเกี่ยวของผลิตผลตางชนิดกันมีคาแตกตางกัน<br />

โดยทั่วไปผลไม<br />

ประเภทนอนไคลแมคเทริก ภายหลังการเก็บเกี่ยวอัตราการหายใจของเซลลจะคอยๆ<br />

ลดลง แม<br />

ระหวางการสุกอัตราการหายใจก็จะไมเพิ่มขึ้น<br />

สวนผลไมประเภทไคลแมคเทริกภายหลังการเก็บ<br />

เกี่ยวการหายใจของเซลลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

พรอมๆ กับการสุก (Kader, 1986) เงาะเปนผลไมในกลุม<br />

นอนไคลแมคเทริกที่มีอัตราการหายใจระดับปานกลาง<br />

คืออยูในชวง<br />

20-100 มล. คารบอนไดออก-<br />

ไซด/กก. ชม. ที่อุณหภูมิ<br />

20 องศาเซลเซียส (จริงแท, 2546) เมื่อเก็บรักษาเงาะที่อุณหภูมิสูงขึ้น<br />

อัตรา<br />

การหายใจของเงาะจะเพิ่มขึ้น<br />

โดยที่ทุกอุณหภูมิเงาะมีอัตราการหายใจคอนขางคงที่ตลอดการเก็บ<br />

รักษา ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ<br />

McLauchlan et al. (1994) พบวาเมื่อเก็บรักษาเงาะพันธุ<br />

Jit<br />

Lee ที่อุณหภูมิ<br />

0-20 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่สูงขึ้นสงผลใหเกิดอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น<br />

โดยเงาะมี<br />

อัตราการหายใจคอนขางคงที่ชวง<br />

7 วันแรกของการเก็บรักษา หลังจากนั้นเงาะที่เก็บรักษาอุณหภูมิ<br />

15 และ 20 องศาเซลเซียสมีอัตราการหายใจสูงขึ้น<br />

เนื่องจากการเขาทําลายของเชื้อโรคซึ่งเปนอิทธิพล<br />

จากสภาพแวดลอมภายนอก และยังสอดคลองกับอัตราการหายใจของลําไย ซึ่งพบวาเมื่อเก็บรักษา<br />

ลําไยที่อุณหภูมิ<br />

20 และ 4 องศาเซลเซียส เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นลําไยมีอัตราการหายใจเพิ่มขึ้นและมี<br />

รูปแบบการหายใจเชนเดียวกับผลไมในกลุมนอนไคลแมคเทริก<br />

โดยลําไยที่เก็บรักษาทั้งสองอุณหภูมิ<br />

มีอัตราการหายใจคงที่ตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา<br />

(Zhao et al., 2006)<br />

อยางไรก็ตามการเก็บรักษาผลิตผลที่อุณหภูมิต่ําสามารถชะลอกระบวนการตางๆทางชีวภาพ<br />

ชาลง ชะลอการหายใจ การผลิตเอทิลีน และยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตผลได แตถาลดอุณหภูมิต่ํา<br />

51

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!