30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

(ก) (ข)<br />

ภาพที่<br />

10 อาการสะทานหนาว (chilling injury) ของเงาะที่อุณหภูมิ<br />

0 องศาเซลเซียส ในวันที่<br />

2<br />

ของการเก็บรักษา (ก) และที่อุณหภูมิ<br />

10 องศาเซลเซียส ในวันที่<br />

8 ของการเก็บรักษา (ข)<br />

ตารางที่<br />

10 แสดงคา temperature coefficient (Q10) ของเงาะ ในชวงอุณหภูมิ 0-30 องศา<br />

เซลเซียส พบวา ชวงอุณหภูมิ 10-20 องศาเซลเซียส เงาะมีคา Q10 เทากับ 1.87 ซึ่งมีคาสูงที่สุด<br />

และมี<br />

คาลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น<br />

โดยชวง 20-30 องศาเซลเซียส มีคาเทากับ 1.30 ตามลําดับ ทั้งนี้การ<br />

ลดลงของคา Q10 เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น<br />

เกิดเนื่องจากที่อุณหภูมิสูงการซึมผานของแกสออกซิเจนเขาไป<br />

ภายในเนื้อเยื่อของผลิตผลไมเร็วพอที่จะทําใหเกิดอัตราการหายใจสูงขึ้นมากนัก<br />

ในชวงอุณหภูมิ<br />

ประมาณ 30 องศาเซลเซียส การเพิ่มขึ้นของอัตราการหายใจลดลง<br />

ทั้งนี้เพราะโปรตีนหรือเอนไซม<br />

ตางๆ ที่จําเปนในกระบวนการหายในเริ่มแปลงสภาพ<br />

(denature) และทําใหปฏิกิริยาตางๆ เกิดขึ้น<br />

ไมได ผลิตผลเกิดการเสื่อมสภาพและเนาเสียไปในที่สุด<br />

(Kader, 1986) ในขณะที่<br />

คา Q10 ของเงาะ<br />

ในชวงอุณหภูมิ 0-10 องศาเซลเซียส มีคาเทากับ 1.64 ซึ่งมีคาต่ํากวาชวงอุณหภูมิที่<br />

10-20 องศา<br />

เซลเซียส ซึ่งโดยปกตินั้นที่อุณหภูมิต่ํา<br />

อัตราการหายใจมีคาลดลง แตในผลไมบางชนิดโดยเฉพาะ<br />

ผลไมที่มีถิ่นกําเนิดในเขตรอนหรือกึ่งรอน<br />

อัตราการหายใจอาจเพิ่มสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลงต่ํากวา<br />

10 องศาเซลเซียส ซึ่งแสดงไดวาอาจเกิดอาการสะทานหนาวขึ้นได<br />

สอดคลองกับการทดลองของ<br />

Bron et al. (2005) โดยพบวาเมื่อเก็บรักษาผลฝรั่งที่อุณหภูมิต่ํากวา<br />

11 องศาเซลเซียส เกิดอาการ<br />

สะทานหนาวขึ้น<br />

ซึ่งคา<br />

Q10 ในชวง 1-11 องศาเซลเซียส ต่ํากวาในชวง<br />

11-21 องศาเซลเซียส และเมื่อ<br />

เก็บรักษาที่อุณหภูมิสูงขึ้น<br />

คา Q10 ลดลงมาก โดยชวง 31-41 องศาเซลเซียส มีคาเพียง 0.8 เทานั้น<br />

53

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!