30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ละ 20 มีคา L* ต่ําที่สุดและแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

(p ≤ 0.05) กับสภาวะอื่นๆ<br />

แสดงถึงความสวาง<br />

ทั้งผลต่ําสุดและมีการเกิดสีน้ําตาลสูงสุด<br />

สาเหตุหลักที่ทําใหเกิดสีน้ําตาล<br />

(browning) ของผลเงาะคือการสูญเสียน้ําจากผลโดย<br />

อัตราการสูญเสียน้ําที่สูงขึ้นทําใหเกิดสีน้ําตาลของผลเงาะเพิ่มมากขึ้นดวย<br />

(Landrigan et al., 1996a)<br />

ปริมาณคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศที่มีความเขมขนมากกวาในบรรยากาศปกติและมีระยะ<br />

เวลานานสามารถชะลอการเปลี่ยนสีของผลิตผลได<br />

ทั้งนี้เนื่องจากสารสีที่ทําใหเกิดสีแดงในผลเงาะ<br />

คือแอนโทไซยานินซึ่งเปนสารสีที่ละลายในน้ําพบในแวคิวโอลของเซลลชั้นเยื่อบุผิวในสวนตางๆ<br />

ของพืชมีอิทธิพลตอสีคอนขางมาก โครงสรางของแอนโทไซยานินเปนสารประกอบไกลโคไซด<br />

(glycoside) ของแอนโทไซยานิดิน (anthocyanidine) ซึ่งเปนโครงสรางที่ไมเสถียรและเมื่อโครง<br />

สรางเปลี่ยนแปลงไปจะทําใหสีเปลี่ยนไปดวย<br />

(สายชล, 2528) โดยแอนโทไซยานินเกิดสีแดงเมื่ออยู<br />

ในสภาวะความเปนกรด (pH ต่ํา)<br />

และเกิดสีมวงและสีน้ําเงินเมื่ออยูในสภาวะความเปนเบส<br />

(pH สูง)<br />

ดังนั้นผลเงาะที่ไดรับแกสคารบอนไดออกไซดเขาไปในเซลลสามารถแตกตัวใหกรดคารบอนิก<br />

(carbonic acid) มีผลทําใหคาความเปนกรดเบสระหวางเซลลของผลเงาะต่ําลง<br />

(Bown, 1985) สงผล<br />

ใหผลเงาะยังคงมีสีแดง และเปลี่ยนเปนสีแดงคล้ําและสีดําไดชาลง<br />

(O’Hare et al., 1994)<br />

อยางไรก็ตามเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศที่มีแกสคารบอนไดออกไซดสูงเกินไป<br />

ทําใหเงาะเกิดสีน้ําตาลไดเชนกัน<br />

โดยผลเงาะมีสีของเปลือกและขนเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลซีด<br />

หรือมีสี<br />

น้ําตาลทั่วทั้งผล<br />

การเพิ่มระดับความเขมขนของแกสคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศที่ใชเก็บ<br />

รักษาผลผลิตมากเกินไป อาจมีผลตอ TCA cycle (Kreb’s cycle) โดยแกสคารบอนไดออกไซด มีผล<br />

ในการยับยั้งการทํางานของเอนไซมซัคซิเนตดีไฮโดรจีเนส<br />

(succinate dehydrogenase, SHD) ทํา<br />

ปฏิกิริยาออกซิเดชันของซัคซิเนต (succinate) ไปเปนฟูมาเลต (fumulate) ถูกยับยั้ง<br />

เกิดการสะสมของ<br />

ซัคซิเนตปริมาณมาก ทําใหเกิดอันตรายกับเนื้อเยื่อ<br />

สงผลใหเงาะเกิดความเสียหายและแสดงลักษณะ<br />

ที่ผิดปกติทางสรีรวิทยาออกมา<br />

ซึ่งเรียกวาการบาดเจ็บจากคารบอนไดออกไซด<br />

(CO2 injury)<br />

(Watkins and Zhang, 1998; Kader, 1986) จากการทดลองจะเห็นไดวาเงาะภายใตบรรยา กาศ<br />

คารบอนไดออกไซดรอยละ 20 เกิดอาการผิดปกติดังกลาว ซึ่งการเกิดสีน้ําตาลมีลักษณะแตก<br />

ตางจาก<br />

การเกิดสีน้ําตาลเนื่องจากการสูญเสียน้ําในเงาะที่เก็บรักษาในสภาวะอื่นๆ<br />

ภาพที่<br />

14 แสดงคา a* ของผลเงาะพบวาเงาะภายใตบรรยากาศที่มีแกสคารบอนไดออก<br />

ไซดรอยละ 20 มีคา a* ลดลงเมื่ออายุการเก็บรักษามากขึ้นโดยมีคา<br />

a* ลดลงอยางรวดเร็วในวันที่<br />

9<br />

ของการเก็บรักษา และมีคา a* ต่ําสุดในวันที่<br />

15 การเก็บรักษา ในขณะที่เงาะที่เก็บรักษาภายใต<br />

58

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!