30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ตารางที่<br />

10 คา Temperature coefficient (Q10) ของเงาะชวงอุณหภูมิ 0 – 30 องศาเซลเซียส<br />

ชวงอุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)<br />

Temperature coefficient (Q10) 0-10 1.64<br />

10-20 1.87<br />

20-30 1.30<br />

เมื่อพิจารณาอัตราการผลิตเอทิลีนของเงาะที่อุณหภูมิตางๆ<br />

พบวา ที่อุณหภูมิ<br />

0 องศา<br />

เซลเซียส เงาะมีอัตราการผลิตเอทิลีนต่ําที่สุด<br />

โดยมีคาอยูในชวง<br />

0.00-0.27 ไมโครลิตร/กก. ชม.<br />

รองลงมาคือที่อุณหภูมิ<br />

10, 12, 20 และ 30 องศาเซลเซียส มีอัตราการผลิตเอทิลีน ในชวง 0.19-0.77,<br />

0.37-1.14, 0.28-1.22 และ 0.91-1.51 ไมโครลิตร/กก. ชม. ตามลําดับ (ภาพที่<br />

11) อาจกลาวไดวาเมื่อ<br />

อุณหภูมิในการเก็บรักษาสูงขึ้น<br />

เงาะมีอัตราการผลิตเอทิลีนเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้น<br />

กระตุนการเกิดใหปฏิกิริยาเคมีตางๆ<br />

รวมทั้งการผลิตเอทิลีนดวย<br />

อยางไรก็ตามผลิตเอทิลีนหลังการ<br />

เก็บเกี่ยวของผลิตผลที่แตกตางกัน<br />

มีคาเพิ่มขึ้นและลดลงแตกตางกันดวย<br />

โดยผลไมประเภทไคลแมค<br />

เทริก มีการผลิตและความเขมขนของเอทิลีนระหวางการเจริญเติบโตต่ํา<br />

จนกระทั่งผลไมเริ่มสุกการ<br />

ผลิตเอทิลีนจึงเพิ่มขึ้น<br />

สวนผลไมประเภทนอนไคลแมคเทริกมีอัตราการผลิตและความเขมขนของเอ<br />

ทิลีนอยูในระดับต่ําตลอดการพัฒนาและการเจริญเติบโต<br />

(Reyes, 1996, Thompson, 2003) เงาะเปน<br />

ผลไมประเภทนอนไคลแมกเทริกที่มีอัตราการผลิตเอทิลีนคอนขางต่ําและคงที่ตลอดระยะเวลาการ<br />

เก็บรักษา โดยมีคาระหวาง 0.1-0.7 ไมโครลิตร/กก. ชม. เมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียส<br />

(Kader, 2002) เชนเดียวกับ O’Hare et al. (1994) ไดรายงานวา อัตราการผลิตเอทิลีนของเงาะคอน<br />

ขางต่ํา<br />

มีคานอยกวา 0.04 ไมโครลิตร/กก. ชม. โดยกลาววาเงาะที่มีการผลิตเอทิลีนไดสูงถึง<br />

2-3<br />

ไมโครลิตร/กก. ชม. นั้นอาจเกิดเนื่องจากการเขาทําลายของเชื้อโรค<br />

นอกจากนี้<br />

Kondo et al. (2001)<br />

ไดทําการทดลองพบวา เมื่อเก็บรักษาเงาะที่อุณหภูมิ<br />

13 องศาเซลเซียส มีการผลิตเอทิลีนในระดับต่ํา<br />

และคงที่ตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา<br />

สวนเงาะที่เก็บรักษาที่<br />

8 องศาเซลเซียส มีการผลิตเอทิลีนคงที่<br />

ในชวง 2 วันแรกของการเก็บรักษา และเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆจนกระทั่งมีความเขมขนของเอทิลีนสูงสุด<br />

ในวันที่<br />

4 ของการเก็บรักษา หลังจากนั้นการผลิตเอทิลีนลดต่ําลงอยูในระดับเดียว<br />

กับปริมาณเอทิลีน<br />

ของเงาะที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

13 องศาเซลเซียส โดยการเพิ่มขึ้นของปริมาณเอทิลีนนั้นเกิดจากเงาะ<br />

เกิดอาการสะทานหนาว<br />

54

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!