30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปริมาณแอสคอรบิกในน้ําคั้นเงาะมีแนวโนมลดลงในทุกบรรยากาศตลอดระยะเวลาการ<br />

เก็บรักษา โดยเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศปกติมีปริมาณแอสคอรบิกลดลงต่ําสุดในวันที่<br />

15<br />

ของการเก็บรักษา (ภาพที่<br />

16) แสดงใหเห็นวาเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศที่มีแกส<br />

คารบอนไดออกไซดสูงกวาบรรยากาศปกติสามารถชะลอการสูญเสียแอสคอรบิกไดดีกวาเงาะที่เก็บ<br />

รักษาภายใตบรรยากาศปกติ ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ<br />

Agar et al. (1999) พบวา ความเขมขน<br />

ของแกสคารบอนไดออกไซดสูงสามารถชะลอการสูญเสียแอสคอรบิกของผลิตผลได นอกจากนี้การ<br />

สูญเสียน้ําออกจากผลิตผลยังสงผลตอการเสื่อมสลายของแอสคอรบิกไดเชนกัน<br />

(จริงแท, 2546) ดัง<br />

ผลการทดลองขางตนพบวาเงาะที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศปกติมีรอยละการสูญเสียน้ําหนักมาก<br />

ที่สุดในวันที่<br />

15 ของการเก็บรักษา (p ≤ 0.05) อยางไรก็ตามการเก็บรักษาผลิตผลภายใตบรรยากาศที่<br />

มีแกสคารบอนไดออกไซดสูงสงผลใหปริมาณแอสคอรบิกเพิ่มขึ้นได<br />

ดังเชนการทดลองของ Shin et<br />

al. (2008a) พบวาเมื่อเก็บรักษาสตรอเบอรี่ภายใตบรรยากาศที่มีแกสคารบอนไดออกไซดรอยละ<br />

20<br />

ที่อุณหภูมิ<br />

3 องศาเซลเซียส เปนเวลา 20 วัน มีปริมาณแอสคอรบิกในผลเพิ่มสูงขึ้นมากกวาสตรอเบอ<br />

รี่ที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศปกติตลอดระยะการเก็บรักษา<br />

ปริมาณเอทานอลในน้ําคั้นสามารถบงบอกปริมาณการสะสมเอทานอลในเนื้อเยื่อเงาะ<br />

ซึ่งสงผลตอการเกิดกลิ่นหมัก<br />

โดยพบวาปริมาณเอทานอลในน้ําคั้นของเงาะภายใตทุกสภาวะบรรยา<br />

กาศมีแนวโนมสูงขึ้น<br />

เมื่อระยะเวลาการเก็บรักษามากขึ้น<br />

(ภาพที่<br />

17) โดยเงาะภายใตบรรยากาศที่มี<br />

แกสคารบอนไดออกไซดรอยละ 20 มีปริมาณเอทานอลเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในวันที่<br />

9 ของการเก็บ<br />

รักษา และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

จนกระทั่งหมดอายุการเก็บรักษา<br />

แกสคารบอนไดออกไซดมีผลในการ<br />

ยับยั้งการทํางานของเอนไซมซัคซินิคดีไฮโดรจีเนส<br />

(succinic dehydrogenase) ใน Krebs cycle ทําให<br />

กระบวนการหายใจปกติไมสามารถดําเนินตอไปได แตความตองการพลังงาน (ATP) ยังคงมีอยูจะ<br />

ไปกระตุนไกลโคไลสิสใหเกิดขึ้นเร็วสวน<br />

NAD+ ที่ถูกใชในไกลโคไลสิสถูกนํากลับมาไดโดยการ<br />

รีดิวซ กรดไพรูวิก ไปเปนแอลกอฮอลในกระบวนการหมัก และสะสมในผลิตผล (Thompson, 1996)<br />

ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ<br />

Ke et al. (1991) ที่พบวา<br />

สตรอเบอรี่ที่เก็บรักษาภายใตบรรยากาศที่<br />

มีความเขมขนของแกสคารบอนไดออกไซดรอยละ 20-80 มีการสะสมของปริมาณแอซีตอลดีไฮด<br />

และเอทานอลในปริมาณที่เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเพิ่มความเขมขนของแกสคารบอนไดออกไซดในสภาพ<br />

บรรยากาศใหสูงขึ้น<br />

แสดงใหเห็นวาการเก็บรักษาเงาะภายใตบรรยากาศที่มีแกสคารบอนไดออกไซด<br />

รอยละ 20 มีผลตอการเกิดอาการผิดปกติทางสรีรวิทยาและและเกิดกลิ่นหมัก<br />

ในขณะที่เงาะภายใต<br />

สภาวะอื่นไมเกิดกลิ่นหมักซึ่งสอดคลองกับปริมาณเอทานอลในน้ําคั้น<br />

61

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!