30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

น้ําตาลที่เกิดขึ้นเปนสาเหตุสําคัญทําใหเงาะเสื่อมสภาพอยางรวดเร็ว<br />

และเปนตัวกําหนดระยะเวลาใน<br />

การเก็บรักษา โดยการเกิดสีน้ําตาลของเงาะนั้น<br />

เกิดจากการคายน้ําออกมาจากผล<br />

(Landrigan et al.,<br />

1994) จากการที่โครงสรางของเปลือกเงาะที่มีลักษณะดานนอกคลายกับขน<br />

(trichome) ที่เรียกวา<br />

spintern เกิดจากเนื้อเยื่อชั้นผิวซึ่งชวยเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัส<br />

ทําใหเงาะเปนผลไมที่มีพื้นที่ผิวมากเปน<br />

2<br />

เทาของพื้นที่ผิวของผลไมอื่นในขนาดเดียวกัน<br />

สงผลใหเงาะมีอัตราการสูญเสียน้ําเร็วมากถึงรอยละ<br />

4<br />

ตอวันที่อุณหภูมิหอง<br />

(จริงแท, 2546) นอกจากนี้โครงสรางของสวนขนเงาะนี้มีจํานวนปากใบจํานวน<br />

มากซึ่งมากกวาที่ผิวเปลือกถึง<br />

5 เทา (Margaret, 1996) จึงสงผลทําใหอัตราการคายน้ําสูง<br />

อันเปนเหตุ<br />

ใหน้ําหนักผลลดลงอยางรวดเร็ว<br />

โดยเฉพาะการเก็บรักษาที่อุณหภูมิหอง<br />

สาเหตุสําคัญของการสูญ-<br />

เสียหลังการเก็บเกี่ยวของผลเงาะ<br />

เกิดจากความชอกช้ําของขนและเปลือก<br />

โครงสรางขนที่ออนจะ<br />

เหี่ยวเฉาและแหงงายที่อุณหภูมิหอง<br />

โดยสวนเปลือกและขนเกิดการเปลี่ยนแปลงเปนสีคล้ําจนดํา<br />

อยางรวดเร็วภายใน 3 วัน (สุรพงษ, 2529) การสูญเสียน้ําหนักของผลเงาะเกิดขึ้นที่บริเวณสวนปลาย<br />

ขนเปนสวนใหญ ซึ่งเปนผลมาจากการเกิดเปนชั้นขอบ<br />

(boundary layer) ของไอน้ํารอบๆ<br />

ผล สวน<br />

การสูญเสียน้ําหนักของเนื้อเกิดขึ้นเพียงเล็กนอยเทานั้น<br />

(Agravante, 1982) อยางไรก็ตามความรุนแรง<br />

ในการเกิดสีน้ําตาลของผลเงาะนั้นมีความสัมพันธอยางมากกับการสูญเสียน้ําออกจากผล<br />

(Landrigan<br />

et al., 1996b)<br />

ปจจัยสําคัญในระหวางเก็บรักษาที่ตองคํานึงถึง<br />

ไดแก อุณหภูมิและความชื้น<br />

โดยเมื่อเก็บ<br />

รักษาในสภาวะที่มีความชื้นในบรรยากาศสูงอัตราการคายน้ําจะเกิดขึ้นนอย<br />

แตถาความชื้นใน<br />

บรรยากาศและอุณหภูมิสูงการคายน้ําจะเกิดมาก<br />

(จริงแท, 2537) ซึ่งโดยทั่วไปการสูญเสียน้ํามากกวา<br />

รอยละ5-10 ของน้ําหนักผล<br />

จะทําใหผลเหี่ยว<br />

ความแนนของผลลดลงและรสชาติไมดี (Pelag, 1985)<br />

จากการศึกษาพบวาผลเงาะมีอัตราการสูญเสียน้ําหนักเร็วมากถึงรอยละ<br />

4 ตอวันที่อุณหภูมิหอง<br />

และ<br />

เพิ่มขึ้นเมื่อผลแกมากขึ้น<br />

(Pantastico et al., 1975) เงาะพันธุ<br />

Seematjan เกิดการสูญเสียน้ําหนักมาก<br />

กวารอยละ 17 ภายใน 1 วันหลังการเก็บเกี่ยว<br />

ที่อุณหภูมิหอง<br />

(Lam and Kosiyachinda, 1987) สวน<br />

เงาะพันธุ<br />

Marhalika สูญเสียน้ําหนักรอยละ<br />

26 ในวันที่<br />

6 ของการเก็บรักษา ที่อุณหภูมิ<br />

31 องศา<br />

เซลเซียส และเกิดการสูญเสียน้ําหนักรอยละ<br />

27 เมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

7 องศาเซลเซียส (Mendoza<br />

et al., 1972)<br />

ลักษณะดังกลาวเปนอุปสรรคสําคัญสําหรับการขยายตลาดการสงออกผลเงาะในรูปผลสด<br />

ไปยังตางประเทศที่หางไกล<br />

ซึ่งอัตราการสูญเสียน้ําสามารถลดลงไดโดยควบคุมปจจัยตางๆที่มีผลตอ<br />

การสูญเสียน้ําเพื่อใหผลิตผลกับสภาพบรรยากาศมีความแตกตางของความดันไอน้<br />

ํานอยที่สุด<br />

โดย<br />

11

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!