30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

อาการสะทานหนาว เมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิที่ต่ํากวานั้น<br />

ในขณะที่<br />

สายชลและอรษา (2537) รายงาน<br />

วาการเก็บรักษาเงาะที่อุณหภูมิ<br />

8 องศาเซลเซียส เกิดอาการสะทานหนาวในวันที่<br />

6 ของการเก็บรักษา<br />

และเมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

10 องศาเซลเซียส เงาะเกิดอาการสะทานหนาวในวันที่<br />

8 ของการเก็บ<br />

รักษา โดยลักษณะขนและผิวเปลือกเงาะเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลและดําในที่สุด<br />

อยางไรก็ตามอุณหภูมิต่ํา<br />

ที่สงผลใหเกิดอาการสะทานหนาวของผลไมแตละชนิดแตกตางกัน<br />

เนื่องจากผลไมแตละชนิดมีความ<br />

ทนทานตออุณหภูมิต่ําแตกตางกัน<br />

(Crisosto et al., 1996) เชน การเก็บรักษามะมวงพันธุน้ําดอกไมสี<br />

ทองที่อุณหภูมิ<br />

5, 13 และ 25 องศาเซลเซียส พบวา มะมวงที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

5 และ 13 องศา<br />

เซลเซียสเกิดอาการสะทานหนาวในวันที่<br />

5 และ 20 ของการเก็บรักษาตามลําดับ ในขณะที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียสไมเกิดอาการสะทานหนาวตลอดระยะเวลาเก็บรักษา (Suwapanich and<br />

Haesungchareon, 2005) สวนการเก็บรักษาลิ้นจี่ที่อุณหภูมิ<br />

0 องศาเซลเซียส เกิดอาการสะทานหนาว<br />

ในวันที่<br />

21 ของการเก็บรักษา ในขณะที่ลิ้นจี่ที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

3 องศาเซลเซียสไมเกิดอาการ<br />

สะทานหนาวจนกระทั่งสิ้นสุดอายุการเก็บรักษา<br />

(Hu et al., 2006) เปนตน<br />

ปจจัยที่เกี่ยวของกับการเกิดอาการสะทานหนาวขึ้นอยูกับ<br />

3 ปจจัยที่สําคัญคือ<br />

อุณหภูมิ<br />

ระยะเวลาที่ไดรับอุณหภูมิต่ําและชนิดของพืช<br />

อยางไรก็ตามมีวิธีการปฏิบัติหลายอยางที่สามารถลด<br />

อันตรายจากการเกิดอาการสะทานหนาว เชน การเก็บรักษาอุณหภูมิที่สลับระหวางอุณหภูมิที่เกิด<br />

อาการสะทานหนาวกับอุณหภูมิที่สูงกวาก็สามารถลดอาการสะทานหนาวไดเนื่องจากสันนิษฐานวา<br />

ในขณะที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ําจะทําใหเกิดการสะสมของแอลกอฮอลที่เปนพิษและกอใหเกิดอาการ<br />

ผิดปกติขึ้น<br />

แตเมื่อยายไปเก็บที่อุณหภูมิสูง<br />

แอลกอฮอลที่เปนพิษจะระเหยหายไปทําใหไมเกิดอาการ<br />

สะทานหนาว (จริงแท, 2546) นอกจากนี้บรรยากาศดัดแปลงที่มีปริมาณแกสออกซิเจนต่ําก็สามารถ<br />

ลดอาการสะทานหนาวได เนื่องจากออกซิเจนสามารถยับยั้งการทํางานของเอนไซมพอลิฟนอลออก-<br />

ซิเดสชวยลดอาการผิดปกติจากการเกิดสีน้ําตาลได<br />

อยางไรก็ตามความผิดปกตินี้อาจเกิดขึ้นแลว<br />

เพียงแตมองไมเห็นเทานั้น<br />

(เพ็ญวิภา, 2541) นอกจากนี้<br />

Pesis et al. (1994) พบวาการเก็บรักษาผล<br />

อะโวกาโดภายใตบรรยากาศที่มีแกสออกซิเจนรอยละ<br />

3 เปนเวลา 24 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ<br />

17 องศา<br />

เซลเซียส สามารถชะลอการเกิดอาการสะทานหนาวไดและสามารถชวยชะลอการนิ่ม<br />

ทําใหอัตราการ<br />

หายใจและการผลิตเอทิลีนชาลง<br />

อาการสะทานหนาวที่เกิดขึ้นกับผลิตผลนั้นมีหลายลักษณะ<br />

เชน ผิวของผลิตผลเกิดรอย<br />

แผลสีน้ําตาลหรือดํา<br />

และอาจมีรอยบุมเนื่องจากเซลลบริเวณนั้นตายไป<br />

ผลอาจไมสุกแตไมแสดงผล<br />

อื่นๆใหเห็น<br />

เนื้อภายในอาจตายและเกิดเปนรอยแผลสีน้ําตาลขึ้นและอาจมีการสะสมแอลกอฮอล<br />

และ แอซีตอลดีไฮดภายในเนื้อ<br />

ทําใหรสชาติของผลิตผลผิดไป สําหรับอาการสะทานหนาวที่พบใน<br />

19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!